Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10029
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธราพงษ์ วิทิตศานต์-
dc.contributor.authorวิชชากร จารุศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-13T09:26:04Z-
dc.date.available2009-08-13T09:26:04Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740302726-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10029-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งที่จะศึกษากระบวนการสังเคราะห์ของเหลวจากพอลิพรอพิลีนและแอนทราไซต์โดยใช้เหล็กบนถ่านกัมมันต์ในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเล็ก เพื่อศึกษาอิทธิพลของตัวแปรต่างๆ ที่ส่งผลต่อร้อยละของผลิตภัณฑ์และองค์ประกอบของเหลวที่ดีที่สุด ประกอบด้วย สัดส่วนระหว่างพอลิพรอพิลีนต่อแอนทราไซต์ตั้งแต่ 1.0 ต่อ 0 ถึง 0 ต่อ 1.0 น้ำหนักรวม 20 กรัม อุณหภูมิในการทำปฏิกิริยา 380-430 องศาเซลเซียส ความดันแก๊สไฮโดรเจน 30-60 บาร์ เวลาในการทำปฏิกิริยา 30-75 นาที และเปอร์เซ็นต์ของเหล็กบนถ่านกัมมันต์ 1 ถึง 10% จากการทดลองพบว่าภาวะที่เหมาะสมต่อการทดลองคือ อัตราส่วนของพอลิพรอพิลีนต่อแอนทราไซต์เป็น 0.8 ต่อ 0.2 น้ำหนักรวม 20 กรัม อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส ความดันแก๊สไฮโดรเจน 50 บาร์ เป็นเวลา 60 นาที ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา 1% เหล็กบนถ่านกัมมันต์ได้ผลิตภัณฑ์น้ำมันสูงสุดถึงร้อยละ 59.40 โดยน้ำหนัก การวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์น้ำมันที่ได้จากการทดลองโดยใช้เครื่องแก๊สโครมาโทกราฟี (Simulated distillation gas chromatograph) พบว่าภาวะที่ส่งผลต่อการเกิดปริมาณแนฟทาได้มากที่สุดคือ ที่อัตราส่วนของพอลิพรอพิลีนต่อแอนทราไซต์เป็น 0.8 ต่อ 0.2 น้ำหนักรวม 20 กรัม อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส ความดันแก๊สไฮโดรเจน 40 บาร์ เป็นเวลา 60 นาที โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา 1% เหล็กบนถ่านกัมมันต์ ได้ผลิตภัณฑ์น้ำมันที่ได้มีปริมาณร้อยละของแนฟทา 32.07% คีโรซีน 7.48% น้ำมันก๊าด 8.82% และโมเลกุลไฮโดรคาร์บอนสายโซ่ยาว 5.08%en
dc.description.abstractalternativeThe main objective of this research was aimed to study the effect of co-liquefaction of polypropylene with anthracite using iron on active carbon in a micro reactor by varied operating condition as ratio of polypropylene with anthracite range of 1:0 to 0:1 in total net weight as 20 grams, reaction temperature range of 380-430 C, pressure of hydrogen gas range of 30-60 bar, reaction time 30-75 minutes and percent loading of Iron on active carbon range of 1-10%. From the results, it was found that the ratio of polypropylene with anthracite 0.8:0.2 in total weight as 20 grams, temperature 400 C, pressure of hydrogen gas 50 bar, reaction time 60 min by using 1% Iron on active carbon was the best condition that yields the highest quantity of oil product 59.40%. The analyzed oil product from Gas Chromatography (G.C. Simulated Distillation) was found that the ratio of polypropylene with anthracite 0.8:0.2 in total net weight as 20 grams, temperature 400 C, pressure of hydrogen gas 40 bar, reaction time 60 min by using 1% Iron on active carbon. The product yield was in range 32.07% Naphtha, 7.48% Kerosene 8.82% Gas oil and 5.08% Long residueen
dc.format.extent1382737 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโพลิโพรพิลีนen
dc.subjectคาร์บอนกัมมันต์en
dc.subjectแอนทราไซต์en
dc.titleกระบวนการร่วมของพอลิพรอพิลีนกับแอนทราไซต์โดยใช้เหล็กบนถ่านกัมมันต์en
dc.title.alternativeCoprocessing of polypropylene and anthracite using iron on active carbonen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisortharapong.v@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Witchakorn.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.