Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10033
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร-
dc.contributor.authorอาภรณ์ สุขเจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-13T09:44:42Z-
dc.date.available2009-08-13T09:44:42Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741702841-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10033-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวชี้วัดสุขภาพกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ตัวประกอบ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 970 คน ประกอบด้วย พยาบาลระดับบริหาร จำนวน 123 คน พยาบาลระดับปฏิบัติการ จำนวน 847 คน สุ่มกลุ่ม ตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามตัวชี้วัดสุขภาพกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นจากแนวคิดสุขภาพองค์การ ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ (1=สำคัญน้อยที่สุด, 5=สำคัญมากที่สุด) และได้ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญและทดสอบความเที่ยงโดยวิธีสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยง .97 วิเคราะห์ตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบหลัก หมุนแกนแบบออโธกอนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ผลการวิจัยพบว่า ตัวชี้วัดสุขภาพกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์ มีทั้งหมด 8 ด้าน สามารถอธิบายความแปรปรวน ได้ร้อยละ 66.49 โดยประกอบด้วยตัวชี้วัดดังนี้ 1) ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาคุณภาพและวิชาชีพการพยาบาล ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 21 รายการ อธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 14.45 2) ตัวชี้วัดด้านความยึดเหนี่ยวของกลุ่มงานการพยาบาล ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 14 รายการ อธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 11.35 3) ตัวชี้วัดด้านการใช้อำนาจอย่างเป็นธรรมของกลุ่มงานการพยาบาล ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 12 รายการ อธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 9.03 4) ตัวชี้วัดด้านการนำนวัตกรรมมาใช้ของกลุ่มงานการพยาบาล ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 11 รายการ อธิบายความ แปรปรวนได้ร้อยละ 8.09 5) ตัวชี้วัดด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของกลุ่มงานการพยาบาล ประกอบด้วย ตัวชี้วัดย่อย 8 รายการ อธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 6.48 6) ตัวชี้วัดด้านการติดต่อสื่อสารอย่างเหมาะสมของกลุ่มงานการพยาบาล ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 7 รายการ อธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 6.43 7) ตัวชี้วัดด้านการมุ่งเน้นเป้าหมายของกลุ่มงานการพยาบาล ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 8 รายการ อธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 6.38 8) ตัวชี้วัดด้านการใช้ทรัพยากรของกลุ่มงานการพยาบาล ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 5 รายการ อธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 4.27en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to explore the Nursing department health indicators, Regional hospital and Medical centers under the jurisdiction of the Ministry of Public Health. The sample consisted of 970 professional nurses (123 nurse administrators and 847 staff nurses) and sampling by stratified sampling. Questionnaire was developed by the researcher and judged to be acceptable by the panel of experts. Cronbachʼs alpha coefficient was .97. The preliminary scale consisted of 99 items anchored by a rating scale (1= Strongly unimportance, 5= Strongly importance). Data were collected during February 18, 2002-March 15,2002. To assess the structure of the Nursing department health indicators, factor analyzed all 99 items by means of principal components analysis with varimax rotation. The research findings were as follows: Nursing department health indicators consisted of eight-factors with eigen values greater than 1. The eight indicators were 1) Quality improvement and professional development consisted of 21 items accounted for 14.45% of the variance. 2) Cohesiveness consisted of 14 items accounted for 11.35% of the variance. 3) Optimal power equalization consisted of 12 items accounted for 9.03% of the variance. 4) Innovative utilization consisted of 11 items accounted for 8.09% of the variance. 5) Human resource management consisted of 8 items accounted for 6.48% of the variance. 6) Communication adequacy consisted of 7 items accounted for 6.43% of the variance. 7) Goal focus and consisted of 8 items accounted for 6.38% of the variance. 8) Resource utilization consisted of 5 items accounted for 4.27% of the variance. These eight- factors accounted for 66.49% of the varianceen
dc.format.extent2765975 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพยาบาล -- สุขภาพและอนามัยen
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาลen
dc.titleการศึกษาตัวชี้วัดสุขภาพกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุขen
dc.title.alternativeA study of nursing department health indicators, regional hospital and medical centers under the jurisdiction of the Ministry of Public Healthen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorBoonjai.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
arporn.pdf2.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.