Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1024
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตราภรณ์ สุทธิวรเศรษฐ์-
dc.contributor.authorขนิษฐา จิตแสง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-24T08:27:08Z-
dc.date.available2006-07-24T08:27:08Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741738951-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1024-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการรับฟังรายการเรดิโอโนพร็อบเบล็ม กับระดับความรู้ ทัศนคติต่อภาษาอังกฤษ และการนำความรู้และทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษไปใช้ประโยชน์ของผู้ฟัง โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน เครื่องมือที่นำมาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์แบบเพียร์สัน และประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ผลการวิจัยพบว่ารายการเรดิโอ โนพร็อบเบล็มมีบทบาทต่อการพัฒนาภาษาอังกฤษของผู้ฟังในระดับปานกลาง และปัจจัยจูงใจสูงสุดที่ทำให้ผู้ฟังเลือกฟังรายการเรดิโอ โนพร็อบเบล็ม คือรายการมีการแนะนำเพลงใหม่และทันสมัยตลอดเวลา ทำให้ผู้ฟังได้เรียนรู้ภาษาอังกฤษสนุกมากขึ้นและไม่รู้สึกเบื่อหน่าย ซึ่งมีผลต่อการมีทัศนคติที่ดีต่อภาษาอังกฤษ เพราะรายการมีการนำเสนอทั้งสาระและความบันเทิงควบคู่กันไป ในด้านการนำไปใช้ประโยชน์จากผลการศึกษาพบว่า ผู้ฟังส่วนใหญ่นำความรู้และทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษไปใช้ประโยชน์ในระดับปานกลาง และผู้ฟังส่วนใหญ่เลือกที่จะเป็นผู้ฟังเพียงอย่างเดียว เพราะโอกาสในการสื่อสารสองทางกับทางรายการมีจำกัด ดังนั้นรายการควรเพิ่มช่องทางการสื่อสารที่สามารถตอบโต้ได้ทันทีและเพิ่มโอกาสให้ผู้ฟังได้เข้ามามีส่วนร่วมกับทางรายการได้มากขึ้น นอกเหนือจากการใช้โทรศัพท์ และควรปรับปรุงเนื้อหาที่นำเสนอให้สอดคล้องกับความสนใจและความต้องการของผู้ฟังได้มากขึ้นen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the correlation among listening behavior, knowledge, attitude toward English and uses of English knowledge and usage skill of listeners. Questionaires were used to collect the data from 400 samples. Frequency, percentage, mean and Pearson's product moment correlation coefficient were employed for the data analysis. SPSS program was used for data processing. The Radio No Problem Program presenting as an edutainment, has a power to increase listeners' English knowledge and usage skill at moderate level. Introducing new and most popular songs are the most persuasive factors which attract listeners leading to positive attitude toward English. Listeners usefully apply English knowledge and usage skill to their daily lives. Opportunity to participate in the program was so limited that they are passive listeners. The program should increase more channels and opportunities for listeners to take part in the program, apart from telephone. The program content should be improved to meet the need and interest of listeners.en
dc.format.extent605530 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1270-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาษาอังกฤษen
dc.subjectผู้ฟังวิทยุen
dc.subjectทัศนคติen
dc.subjectรายการวิทยุen
dc.subjectการเปิดรับข่าวสารen
dc.titleบทบาทของรายการเรดิโอโนพร็อบเบล็มต่อการพัฒนาความรู้และทักษาในการใช้ภาษาอังกฤษของผู้ฟังen
dc.title.alternativeThe role of the radio no problem program in developing listeners' english knowledge and usage skillen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJitraporn.S@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.1270-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Khanittha.pdf683.89 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.