Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1027
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรมะ สตะเวทิน-
dc.contributor.authorนิตยา บุญชุ่ม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย (ภาคเหนือ)-
dc.date.accessioned2006-07-24T08:46:42Z-
dc.date.available2006-07-24T08:46:42Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741740468-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1027-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสารกับการใช้ประโยชน์จากข่าวสารและความพึงพอใจที่ได้รับจากข่าวสาร เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ อาจารย์ที่ทำการสอนในมหาวิทยาลัยในภาคเหนือ จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และทำการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวโดยวิธีการแจกแจงค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ซึ่งประมวลผล โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windowsผลการวิจัย พบว่า 1. อาจารย์ที่มีเพศต่างกันมีการเปิดรับข่าวสารแตกต่างกัน อาจารย์ที่มีอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพการทำงาน อัตราเงินเดือน คณะที่ทำงานและประสบการณ์การทำงานในมหาวิทยาลัยแตกต่างกันมีการเปิดรับข่าวสารเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาไม่แตกต่างกัน 2. การเปิดรับข่าวสารเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาของอาจารย์มหาวิทยาลัยในภาคเหนือ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการใช้ประโยชน์จากข่าวสาร 3. การเปิดรับข่าวสารเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาของอาจารย์มหาวิทยาลัยในภาคเหนือ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความพึงพอใจในข่าวสาร 4. การใช้ประโยชน์จากข่าวสารเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาของอาจารย์มหาวิทยาลัยในภาคเหนือมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความพึงพอใจen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to examine the correlations among information exposure , uses and satisfaction with information about quality assurance among the faculty members of universities in northern region. The samples were 400 faculty numbers of universities in northern region. Questionnaires were used for data collection. Frequency , percentage , mean , standard deviation , t-test , one-way analysis of variance and Pearson's Product Moment Correlation Coefficient were used for the analysis of the data.SPSS for Windows was employed for data processing. The findings of the research were as follows : 1. Faculty members different in sex were significantly different in information exposure , faculty members different in age , education level , status , salary , faculty and working experience were not significantly different in information exposure. 2. Information exposure positively correlated with the uses of information. 3. Information exposure positively correlated with the satisfaction with information.4. The uses of information positively correlated with the satisfaction with information.en
dc.format.extent985305 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.823-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectประกันคุณภาพการศึกษาen
dc.subjectอาจารย์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเปิดรับข่าวสารen
dc.titleการเปิดรับข่าวสารและความพึงพอใจในข่าวสาร เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาของอาจารย์มหาวิทยาลัยในภาคเหนือen
dc.title.alternativeInformation exposure and information satisfaction on information about quality assurance among the faculty members of universities in northern regionen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.823-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nittaya.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.