Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10362
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิฎราธร จิรประวัติ-
dc.contributor.authorเบญจา แซ่เซีย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-21T09:34:09Z-
dc.date.available2009-08-21T09:34:09Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743316582-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10362-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงทัศนคติของนักเรียนและนิสิตนักศึกษาที่มีต่อโฆษณาทางโทรทัศน์ และศึกษาเปรียบเทียบทัศนคติของกลุ่มนักเรียนและนิสิตนักศึกษาโดยจะศึกษาถึงทัศนคติที่มีต่อโฆษณาโดยทั่วไป ทัศนคติเกี่ยวกับอิทธิพลของโฆษณาที่มีต่อตนเอง และต่อสังคม ตลอดจนทัศนคติที่ได้จากการรับชมโฆษณาทางโทรทัศน์ที่ได้คัดเลือกไว้ ภายใต้แนวความคิดที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1) แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของการโฆษณา 2) แนวคิดเกี่ยวกับโฆษณากับสังคม 3) แนวคิดเรื่องการเปิดรับสื่อ 4) แนวคิดเรื่องทัศนคติ และ 5) องค์ประกอบของการโฆษณาทางโทรทัศน์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการจัดสนทนากลุ่มกับกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และกลุ่มนิสิตนักศึกษา ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มนักเรียนและนิสิตนักศึกษาส่วนใหญ่มีทัศนคติที่ดีต่อโฆษณาทั่วไปคล้ายคลึงกัน เพราะโฆษณามีแนวคิดที่แปลกใหม่ และให้ความบันเทิง ส่วนทั้งสองกลุ่มมีทัศคติที่ไม่ดี เพราะโฆษณานำเสนอเกินจริง และขัดจังหวะการดูรายการโทรทัศน์ อย่างไรก็ตามพบความแตกต่างกันของทั้งสองกลุ่ม คือ กลุ่มนักเรียนเห็นว่าโฆษณาให้ความรู้ ขณะที่กลุ่มนิสิตนักศึกษาเห็นว่า โฆษณาเป็นเพียงเครื่องมือหนึ่งในการตัดสินใจซื้อสินค้า 2) ทั้งสองกลุ่มมีทัศนคติเกี่ยวกับอิทธิพลของโฆษณาที่ต่อตนเองคล้ายคลึงกัน พบว่า โฆษณาทำให้นักเรียนและนิสิตนักศึกษาอยากทดลองใช้ และซื้อสินค้า แต่พบความแตกต่างว่าโฆษณามีอิทธิพลด้านการแต่งกาย และการใช้คำพูดต่อกลุ่มนักเรียนมากกว่ากลุ่มนิสิตนักศึกษา 3) ทั้งสองกลุ่มมีทัศนคติเกี่ยวกับอิทธิพลของโฆษณาที่มีต่อสังคมคล้ายคลึงกันว่า โฆษณาช่วยส่งเสริมสังคม ขณะเดียวกัน โฆษณาก่อให้เกิดการบริโภคนิยมด้วย 4) ทัศนคติที่มีต่อโฆษณาทางโทรทัศน์ที่ได้รับชม พบว่า ทั้งสองกลุ่มชอบโฆษณาเพราะมีแนวคิดแปลกใหม่ เพลงประกอบไพเราะ สถานที่ที่สวยงาม และเทคนิคการถ่ายทำมีความกลมกลืน ในขณะที่ไม่ชอบโฆษณาเพราะว่า โฆษณานำเสนอเกินจริง น่าเบื่อหน่ายเพราะรูปแบบที่ซ้ำซาก จำเจ รวมทั้งภาพและเพลงประกอบไม่สอดคล้องกันen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to study and to compare high school students and university students' attitudes towards television commercials (TVCs). This research emphasizes their attitudes towards the following topics: Television commercials, the influence of TVCs upon themselves. The influence of TVCs upon society, and the impact of selected TVC samples. The analysis was undertaken within five conceptual frameworks: 1) The role of advertising; 2) Advertising and society; 3) Media exposure; 4) attitudes; and 5) The elements of TVCs. This is a qualitative research is carried out by a focus group method with high school and university students. The result show that 1) The majority of both groups have good attitudes towards TVCs because of its creative idea and pleasure-giving aspect. Their bad attitudes result from the exaggeration/overclaim of TVCs and the interruption into the TV programmes. However, the difference is that high school students perceived TVC as knowledge, while university students found it as a tool in purchasing products. 2) Both groups agreed on the influence of TVCs that made them want to try the product and make a purchase. The difference is found only that TVCs have more impact in dressing style and verbal usage among high school students rather than among university students. 3) In terms of their attitudes towards the influence of TVCs upon society, both groups accepted that TVCs contribute to the society meanwhile inducing a materialistic behavior as well. 4) Both groups agreed on the impact of selected TVC samples that presented creative ideas, beautiful music, nice locations and smooth production technique. Both disliked TVCs only because of the exaggeration/overclaim, non-creativity, and unmatched of photo and music.en
dc.format.extent924116 bytes-
dc.format.extent766695 bytes-
dc.format.extent1030548 bytes-
dc.format.extent736768 bytes-
dc.format.extent905301 bytes-
dc.format.extent830448 bytes-
dc.format.extent1536754 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectทัศนคติen
dc.subjectโฆษณาทางโทรทัศน์en
dc.titleการศึกษาทัศนคติของนักเรียน และนิสิตนักศึกษาต่อโฆษณาทางโทรทัศน์en
dc.title.alternativeA study of high school and university students' attitudes towards television commercialsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการโฆษณาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVittratorn.C@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Benja_Se_front.pdf902.46 kBAdobe PDFView/Open
Benja_Se_ch1.pdf748.73 kBAdobe PDFView/Open
Benja_Se_ch2.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Benja_Se_ch3.pdf719.5 kBAdobe PDFView/Open
Benja_Se_ch4.pdf884.08 kBAdobe PDFView/Open
Benja_Se_ch5.pdf810.98 kBAdobe PDFView/Open
Benja_Se_back.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.