Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10513
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไชยันต์ ไชยพร | - |
dc.contributor.author | ดำรงค์ศักดิ์ ยอดทองดี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2009-08-26T03:03:08Z | - |
dc.date.available | 2009-08-26T03:03:08Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.isbn | 9741714831 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10513 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา เพื่อให้ทราบว่าช่องไม่ลงคะแนนในบัตรเลือกตั้งของกระบวนการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตขอไทยมีเจตนารมณ์ในการจัดทำเป็นอย่างไรและปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมในเขตเลือกตั้งต่างๆ มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้สิทธิในช่องไม่ประสงค์จะลงคะแนนของผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งหรือไม่ วิธีการศึกษาวิเคราะห์ได้อาศัยการศึกษาจากเอกสารทางวิชาการเอกสารทางราชการ และการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่าเจตนารมณ์ในการจัดทำช่องไม่ลงคะแนนในบัตรเลือกตั้งเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตต่างๆ ทั้งที่เกิดขึ้นจากความบกพร่องของกฎหมายหรือกระบวนการการเลือกตั้งเอง และทั้งที่ผู้ที่มีเจตนาทุจริตกระทำให้เกิดขึ้น อีกทั้งเพื่อต้องการให้ช่องไม่ประสงค์จะลงคะแนนกลายมาเป็นเครื่องมือในการสื่อสารทางการเมืองจากภาคประชาชนไปถึงฝ่ายการเมืองเพื่อการพัฒนาการเมืองไทยไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น โดยเจตนารมณ์ในการจัดทำช่องไม่ลงคะแนนนั้นหาได้มีความเกี่ยวข้องกับการที่รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกำหนดให้การเลือกตั้งเป็นหน้าที่แต่อย่างใด สำหรับปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม จากการศึกษาพบว่าลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมมีแนวโน้มในการกำหนดอัตราร้อยละของผู้ใช้สิทธิ์ในช่องไม่ลงคะแนนในเขตเลือกตั้งต่างๆ กล่าวคือถ้าระดับทางเศรษฐกิจและสังคมของประชาชนในเขตเลือกตั้งมีระดับค่อนข้างสูง อัตราร้อยละของผู้ใช้สิทธิในช่องไม่ลงคะแนนก็มีแนวโน้มว่าจะสูงตามไปด้วยและในทางกลับกันเมื่อประชาชนมีระดับทางเศรษฐกิจและสังคมต่ำก็มี แนวโน้มว่าอัตราร้อยละของผู้ใช้สิทธิในช่องไม่ลงคะแนนก็จะน้อยลงไปด้วย แต่สำหรับในขางเขตเลือกตั้งที่มิได้เป็นไปตามรูปแบบกังกล่าว ก็เนื่องมาจากปัจจัยระยะสั้น ไม่ว่าจะเป็นการทุจริต การแข่งขันทางการเมือง การปลุกระดมทางการเมืองทั้งจากผู้สมัครรับเลือกตั้ง สื่อมวลชน หรือนักวิชาการในพื้นที่เลือกตั้ง ที่เป็นไปอย่างรุนแรงจนส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติของผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงในช่วงใกล้วันเลือกตั้งนั่นเอง | en |
dc.description.abstractalternative | This study aims to explore the intention of the law on having a no-vote choice in the ballot to elect members of the House of Representatives and the social and economic factors influencing the exercise of the no-vote choice. This study involves documentary research, both academic and governmental, and interviews of related persons. The findings show that the intention was to guard against and correct forms of election cheating and errors caused by legal flaws, election process, intentded malpractice. It was also meant to be a mechanism to promote political participation in order to achieve higher measure of democracy. It had nothing to do with the caluse in the current (1997) constitution which stipulates voting as a duty. The study then shows that social and economic characteristics existing in constituencies tend to determine the percentage of voter exercising the no-vote choice. The constituencies with higher levels of economics and social factors tend to have higher percentages of no-vote voters. In contrast, those with lower levels of social and economic factors have lower percentages of no-vote voters. Nonetheless, in some constituencies that electoral behaviors do not fit the described pattern, this is, perhaps, because of shortterm forces such as fierce political competition, political mobilization campaigning, the mass media, or local academics in such constituencies. The strong message result in voter attitudes change in the brief period before the election. | en |
dc.format.extent | 1014987 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การมีส่วนร่วมทางการเมือง | en |
dc.subject | การเลือกตั้ง -- ไทย | en |
dc.subject | การลงคะแนนเสียง -- ไทย | en |
dc.subject | กฎหมายเลือกตั้ง -- ไทย | en |
dc.title | ช่องไม่ประสงค์จะลงคะแนนในบัตรเลือกตั้ง : ศึกษาเจตนาผู้ร่างกฎหมายกับพฤติกรรมการใช้สิทธิของผู้เลือกตั้ง | en |
dc.title.alternative | No-vote choice in the ballot : a case study of the intention of legislative bodies and voting behavior | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การปกครอง | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Chaiyand.C@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Pol - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Dumrongsak.pdf | 991.2 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.