Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10538
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพศาล กิตติศุภกร-
dc.contributor.advisorนิรัตน์ คุณสมบัติ-
dc.contributor.authorณรงค์ ดวงเกตุ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-26T08:49:45Z-
dc.date.available2009-08-26T08:49:45Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741723873-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10538-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการควบคุมแบบเจนเนริกโมเดล เป็นการควบคุมที่อาศัยแบบจำลองของกระบวนการ มีข้อได้เปรียบคือ สามารถนำแบบจำลองไม่เชิงเส้นของกระบวนการ มาใช้ในโครงสร้างการควบคุมได้โดยตรง ส่งผลให้สมรรถนะในการควบคุมดีกว่าการควบคุมแบบพีไอดี ดังนั้นปัญหาที่สำคัญในการควบคุมอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลง ในระหว่างการเกิดปฏิกิริยาของกระบวนการผลิตเอธานอลน่า จะได้รับการศึกษาเป็นอย่างยิ่ง และเป็นการประยุกต์ใช้ความรู้การควบคุมชั้นสูง กับกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพ ในงานวิจัยนี้ได้นำเสนอการประยุกต์ใช้การควบคุมแบบเจนเนริกโมเดล กับกระบวนการผลิตเอธานอล โดยเปรียบเทียบกับการควบคุมแบบพีไอดี ร่วมกับการใช้งานตัวประมาณค่าสเตทและพารามิเตอร์ โดยอาศัยดัชนีชี้วัดคือ ค่าไอเอสอี เพื่อศึกษาสมรรถนะของตัวควบคุมทั้งสองแบบ เมื่อเกิดความคลาดเคลื่อนของแบบจำลองกับกระบวนการจริง ที่สภาวะปกติผลการจำลองแสดงให้เห็นว่า สมรรถนะในการควบคุมแบบเจนเนริกโมเดล ร่วมกับตัวประมาณค่าสเตทและพารามิเตอร์ ให้สมรรถนะที่ดีกว่าการควบคุมแบบพีไอดีen
dc.description.abstractalternativeGeneric model control (GMC) is a well known nonlinear model-based controller. The advantage of this control technique is that process models of a nonlinear system are used directly in the GMC control formulation. The performance of the GMC controller is higher than PID controller. Therefore, the problem of ethanol production is a varied temperature between reaction. There have been attemped in the development of the GMC applicability for a BIO process. This research presents the applicability of the GMC controller with kalman filter for ethanol production and compared with a PID controller. The performance of both controller are evaluated by integral square of error .Simulation results have shown that, In normal case, the GMC and PID controllers can control the temperature of the reactor at desired set point. However, in the parameter of plant/model mismatch, the GMC controller with kalman Filter provides better control response than the PID controller does.en
dc.format.extent1634003 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเอทานอลen
dc.subjectการควบคุมแบบเจเนริกโมเดลen
dc.subjectตัวควบคุมพีไอดีen
dc.subjectเครื่องปฏิกรณ์เคมีen
dc.titleการควบคุมอุณหภูมิของเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ ในกระบวนการผลิตเอธานอลโดยใช้การควบคุมแบบเจนเนริกโมเดลen
dc.title.alternativeTemperature control of batch reactor in ethanol production by generic model controlen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPaisan.K@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NarongDoung.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.