Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10557
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอมรา พงศาพิชญ์-
dc.contributor.advisorไชยันต์ ไชยพร-
dc.contributor.authorดุษฎี ยิ้มน้อย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-26T10:20:53Z-
dc.date.available2009-08-26T10:20:53Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741734417-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10557-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (มน.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาอิทธิพลของนักคิดสำนักโครงสร้างนิยมสายฝรั่งเศสที่มีต่อมานุษยวิทยาไทย ในลักษณะของการศึกษากระบวนการคิดหรือแนวคิดทฤษฎีของนักคิดชื่อ Claude Levi-Strauss นักมานุษยวิทยาเชิงโครงสร้างชาวฝรั่งเศสที่มีสมมติฐานวิธีการศึกษาโครงสร้างความคิดของมนุษย์อันเป็นสากล วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาแนวความคิดโดยทั่วไปของ Levi-Strauss โดยเน้นเฉพาะเรื่องความคิดในชนเผ่าดั้งเดิมและการศึกษานิทานปรัมปรา ผลสรุปที่ได้คือ Levi-Strauss มีความเชื่อว่าความคิดแบบชนดั้งเดิมและความคิดที่ปรากฏในนิทานปรัมปรานั้น มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน เพราะว่าเป็นผลผลิตที่ได้จากโครงสร้างความคิดส่วนลึกอันเป็นสากลหรือโครงสร้างความคิดของมนุษย์ในทุกยุคทุกสมัย ส่วนการศึกษาอิทธิพลความคิดผ่านงานมานุษยวิทยาไทยนั้น พบว่า อิทธิพลทางแนวคิดเรื่องโครงสร้างนิทานปรัมปราของ Levi-Strauss ถูกนำมาใช้ผ่านงานมานุษยวิทยาไทยในเรื่องโครงสร้างย่อย หลักคู่ตรงข้าม การผ่านนิทานปรัมปราด้วยวิธีการแบบโครงสร้างนิยม แต่คงเป็นเพราะว่า แนวคิดของ Levi-Strauss มีความซับซ้อนและคลุมเครือ การศึกษาแนวความคิดดังกล่าวจึงเป็นไปในลักษณะของการตีความและความเข้าใจส่วนบุคคล อย่างไรก็ดี แนวคิดแบบโครงสร้างนิยมก็ได้เปิดมุมมองและยกระดับการศึกษาทางมานุษยวิทยาไทย ในแง่มุมของทฤษฎีความคิด และเพิ่มประเด็นการศึกษาทางมนุษยวิทยาไทยen
dc.description.abstractalternativeThis research studies the influence of the Frence structuralism in Thai anthropology in terms of the thinking process, specifically the influence of Claude Levi-Strauss's hypothesis on the univerality of the human mind. The study focuses on Levi-Strauss' general thinking on primitive thinking and the mythical thought. The conclusion shows his belief that the primitive thinking and the mythical thought are similar because they are based on the same deep structure which is universal and is the structure of the human thinking in every era. The study of Thai anthropologist, Phichet Saipan, shows the influence of Levi-Strauss' mythical thought, the mytheme has been used to coincide with the structure of Thai myth. According to Levi-Strauss' thinking the structure is complicated and indistinct. The study of deep structure has to be done by analysis of myth with full understanding of the historical context.en
dc.format.extent2324107 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectลีวาย-สเตราสส์, คราวด์en
dc.subjectพิเชฐ สายพันธ์en
dc.subjectโครงสร้างนิยมen
dc.subjectมานุษยวิทยาen
dc.titleอิทธิพลของนักคิดสำนักโครงสร้างนิยมสายฝรั่งเศสที่มีต่อมานุษยวิทยาไทยen
dc.title.alternativeThe influence of the Frence structuralist school on Thai anthropologyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameมานุษยวิทยามหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมานุษยวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAmara.P@Chula.ac.th-
dc.email.advisorChaiyan.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Dusadee.pdf2.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.