Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10754
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวไลรัตน์ บุญสวัสดิ์-
dc.contributor.authorรัฐศักดิ์ เจริญศิลป์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-29T08:10:00Z-
dc.date.available2009-08-29T08:10:00Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741714386-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10754-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการการนิเทศการสอนของครู การศึกษาพิเศษเรียนร่วมในโรงเรียนที่เป็นศูนย์กลางทางวิชาการเกี่ยวกับการ ศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ เขตการศึกษา 12 โดยจำแนกเป็น ความต้องการการนิเทศการสอนของครูการศึกษาพิเศษเรียนร่วมระหว่างเด็กปกติกับ เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ครูการศึกษาพิเศษเรียนร่วมระหว่างเด็กปกติกับเด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรม และครูการศึกษาพิเศษเรียนร่วมระหว่างเด็กปกติกับเด็กที่มีความบกพร่องทางสติ ปัญญา ในด้านหลักสูตร ด้านการเตรียมการสอน ด้านกิจกรรมการเรียนการสอนและเทคนิควิธีสอน ด้านสื่อการเรียนการสอน และด้านการวัดผลและประเมินผล ซึ่งผู้วิจัยได้ส่งแบบสำรวจความต้องการการนิเทศการสอน จำนวน 283 ฉบับ ได้รับคืน ฉบับสมบูรณ์ จำนวน 246 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 86.93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนำมาหาระดับความต้องการการนิเทศการสอนของครูการศึกษาพิเศษเรียนร่วม ผลการวิจัยพบว่า ครูการศึกษาพิเศษเรียนร่วมในโรงเรียนที่เป็นศูนย์กลางทางวิชาการเกี่ยวกับ การศึกษาพิเศษ ที่ทำการสอนร่วมระหว่างเด็กปกติกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษในแต่ละกลุ่ม มีความต้องการการนิเทศการสอนอยู่ในระดับมาก ในด้านหลักสูตร ด้านการเตรียมการสอน ด้านกิจกรรมการเรียนการสอนและเทคนิควิธีสอน ด้านสื่อการเรียน การสอน และด้านการวัดผลและประเมินผลen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study of instructional supervisory needs of the special education teachers in the academic centers inclusive schools under the Jurisdiction of The Office of The National Primary Education Commission, Educational Region Twelve, about curriculum, the preparation of teaching, learning and teaching management, instructional material, measurement and evaluation in 3 groups : The special education teachers ; normal students and learning disabilities students, The special education teachers ; normal students and behavior disorder students, The special education teachers ; normal students and mental retardation students. Two hundred and eighty three copies of questionnaires were sent, Two hundred and forty six copies or 86.93 percent were completed and returned. Data was analyzed by using percentage, mean and standard diviation. Research findings were as follows : Most of the special education teachers in the academic centers who teach normal students and the special needs students' supervisory needs were at the high level concerning curriculum, the preparation of teaching, learning and teaching management, instructional material, measurement and evaluation.en
dc.format.extent6525781 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.751-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการฝึกสอนen
dc.subjectการสอนen
dc.titleการศึกษาความต้องการการนิเทศการสอนของครูการศึกษาพิเศษเรียนร่วมใน โรงเรียนที่เป็นศูนย์กลางทางวิชาการเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ เขตการศึกษา 12en
dc.title.alternativeA study of instructional supervision needs of the special education teachers in the academic centers inclusive schools under the Jurisdiction of the Office of the National Primary Education Commission, Educational Region Twelveen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.751-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ratasak.pdf6.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.