Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10944
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพียรพรรค ทัศคร-
dc.contributor.authorไพศาล แหวนทองคำ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-02T02:56:44Z-
dc.date.available2009-09-02T02:56:44Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741715404-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10944-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการแตกตัวด้วยความร้อนของน้ำยางข้นชนิดแอมโมเนียต่ำ ในภาวะเหนือวิกฤตของคาร์บอนไดออกไซด์ โดยการเติม 30% ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ ในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะปริมาตร 250 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส, ความดัน 100-180 บาร์ โดยใช้การทดลองแบบแฟคทอเรียลสองระดับที่ส่งผลต่อร้อยละผลได้ของผลิตภัณฑ์ของเหลว, แก๊ส, และของแข็ง ซึ่งตัวแปรกระบวนการที่ศึกษาคือ เวลาในการเกิดปฏิกิริยาที่ 400 องศาเซลเซียส 0-60 นาที, ความดันแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เริ่มต้น 10-20 บาร์, และสัดส่วนออกซิเจน:ยาง 0-108.10 ส่วนต่อยางแห้ง 100 ส่วน จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนพบว่า สัดส่วนออกซิเจน:ยางและเวลาในการทำปฏิกิริยา ส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อร้อยละผลได้ของผลิตภัณฑ์ของเหลว, แก๊ส, และของแข็ง แต่ความดันเริ่มต้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์นั้นไม่มีผลต่อร้อยละผลได้ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว นอกจากนี้ยังศึกษาผลของตัวแปรกระบวนการต่อองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ของเหลวโดยวิเคราะห์ช่วงจุดเดือดการกลั่นด้วยเครื่องมือซิมูเลเทตดิสทิลเลชันแก๊สโครมาโทกราฟฟี พบว่าที่สัดส่วนออกซิเจน:ยาง ที่ 5.40 ส่วนต่อยางแห้ง 100 ส่วน, เวลาในการเกิดปฏิกิริยาที่ 400 องศาเซลเซียส 0 นาที, และความดันแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เริ่มต้นที่ 10 บาร์ ผลิตภัณฑ์ที่ได้ประกอบไปด้วยผลิตภัณฑ์ของแข็งร้อยละ 0.47, ลองเรซิดิวร้อยละ 17.28, แก๊สออยล์ร้อยละ 14.67, ไลท์แก๊สออยล์ร้อยละ 12.31, เคโรซีนร้อยละ 10.28, แก๊สโซลีนร้อยละ 30.68, และผลิตภัณฑ์แก๊สร้อยละ 14.31 การเพิ่มเวลาในการเกิดปฏิกิริยาจะทำให้องค์ประกอบเหล่านี้มีปริมาณลดลงยกเว้นผลิตภัณฑ์แก๊สจะเพิ่มขึ้น การเพิ่มสัดส่วนออกซิเจน:ยางจะมีผลเล็กน้อยต่อการเพิ่มของลองเรซิดิวแต่ส่งผลชัดเจนต่อการเพิ่มของผลิตภัณฑ์แก๊ส ส่วนกลั่นเบาที่ 250 องศาเซลเซียสของผลิตภัณฑ์ของเหลวนำไปวิเคราะห์ด้วยแก๊สโครมาโตกราฟฟี-แมสสเปคโตรโฟโตมิเตอร์en
dc.description.abstractalternativeThermal degradation of concentrated latex in supercritical carbondioxide with 30% hydrogenperoxide has been studied in a 250 ml batch reactor at a temperature 400 ํC and pressure 100-180 bar. The thermal degradation process was carried out with liquid yield, gas yield, and solid yield respectively by the two-level factorial experimental design method. The process variables were residence time at 400 ํC(0-60 min), initial pressure of carbondioxide(10-20 bar), and oxygen:rubber ratio (0-108.10 phr). The analysis of variance show that oxygen:rubber ratio and residence time have a sinificant effect on thermal degradation products. The initial pressure of carbondioxide has no effect on products. It was also found that boiling range distribution by simulated distillation gas chromatography effected on the composition of liquid yield. The products from conditions of oxygen:rubber ratio of 5.40 phr, residence time 0 min, and initial pressure of carbondioxide 10 bar is composed of 0.47% solid yield, 17.28% long residue, 14.67% gas oil, 12.31% light gas oil, 10.28% kerosene, 30.68% gasoline, and 14.31% gas yield. The increasing of residence time was decreased yield of the solid, long residue, gas oil, light gas oil, kerosene, and gasoline but gas yield was increased. The increasing of oxygen:rubber ratio has no sinificant effect on long residue but has major effect on increasing of gas product. The light distillation at 250 ํC of liquid yield was characterized by gas chromatography-mass spectrometry.en
dc.format.extent1681610 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectยางพารา -- สมบัติทางความร้อนen
dc.titleการแตกตัวด้วยความร้อนของยางธรรมชาติโดยการเติมเพอร์ออกไซด์en
dc.title.alternativeThermal degradation of natural rubber with added peroxideen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorpienpak.T@sc.chula.ac.th, Pienpak.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
paisan.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.