Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11098
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรชาติ บำรุงสุข-
dc.contributor.authorธนา ยศตระกูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialพม่า-
dc.coverage.spatialตาก-
dc.coverage.spatialเชียงราย-
dc.date.accessioned2009-09-10T11:25:30Z-
dc.date.available2009-09-10T11:25:30Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741711239-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11098-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาบทบาทของหอการค้าจังหวัดเชียงรายและหอการค้าจังหวัดตากในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับสหภาพพม่าในช่วงปีพ.ศ. 2540-2544 การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นว่า หอการค้าจังหวัดมีบทบาทเป็นตัวแสดงหนึ่งในเวทีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้ ในการศึกษานี้ได้ใช้แนวคิดของทฤษฎีภูมิรัฐศาสตร์มาเป็นกรอบในการศึกษา จากการศึกษาพบว่า หอการค้าเชียงรายและหอการค้าตากเป็นตัวแสดงที่สำคัญในฐานะกลุ่มผลประโยชน์ที่มีบทบาทเชิงนโยบายและบทบาทระหว่างประเทศ โดยหอการค้าเชียงรายนอกจากจะมีบทบาทด้านนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศอย่างมากแล้ว ยังมีบทบาทสำคัญในการผลักดันให้เกิดความร่วมมือระหว่างไทย-พม่าในโครงการต่างๆ ในขณะที่หอการค้าตากมีบทบาทอย่างมากในการแก้ไขปัญหาการค้าชายแดนไทย-พม่ารวมทั้งมีบทบาทในการส่งเสริมความสัมพันธ์ในระดับท้องถิ่นด้วย นอกจากความสามารถของบุคลากรของหอการค้าทั้งสองแห่งแล้ว การที่หอการค้าทั้งสองแห่งมีบทบาทเช่นนั้นได้เป็นผลมาจากปัจจัยสำคัญสองประการคือ สถานะทางภูมิรัฐศาสตร์ของพื้นที่สองจังหวัดและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากการค้าชายแดนen
dc.description.abstractalternativeThis thesis studies the role of the Chiangrai and Tak chambers of commerce in the Thai-Myanmar relations during 1997-2001. Conceptualizing the chambers of commerce in the geo-political theory, this research evinces that chamber of commerce is one of the actors in international relations. As interest groups in the local level, both the Chiangrai and Tak chambers of commerce are one of the key players in Thai foreign policy toward Myanmar. Besides its role in economic relations between the two countries, the Chiangrai chamber of commerce plays a crucial role in supporting Thai-Myanmar cooperation projects. Meanwhile, the Tak chamber of commerce helps solving border trade issues, in addition to its assistance to developing and enchancing relations between these two countries. Factors that enable both the chambers of commerce to have major roles in Thai-Myanmar relations can be understood in the geo-political location of Chiangrai and Tak provinces, coupled with their border-economic relations. Moreover, both chambers of commerce have qualified personal who understand well the border-trading issues working in the organization.en
dc.format.extent7027974 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectหอการค้าen
dc.subjectไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- พม่าen
dc.subjectไทย -- การค้ากับต่างประเทศ -- พม่าen
dc.titleหอการค้าจังหวัดในบริบทความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ : ศึกษาบทบาทหอการค้าจังหวัดเชียงรายและหอการค้าจังหวัดตาก ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับสหภาพพม่าen
dc.title.alternativeThe provincial chambers of commerce in the international context : the role of the Chiangrai and the Tak chambers of commerce in the Thai-Myanmar relationsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineความสัมพันธ์ระหว่างประเทศes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSurachart.B@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thana.pdf6.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.