Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11349
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพึงใจ งามอุโฆษ, คุณหญิง-
dc.contributor.advisorถาวร สิทธิไชยากุล-
dc.contributor.authorไพบูลย์ สมานโสตถิวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-09-28T07:02:51Z-
dc.date.available2009-09-28T07:02:51Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746322508-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11349-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อหาความไว (Sensitivity), ความจำเพาะ (Specificity), สหสัมพันธ (correlation) และความถดถอยเชิงเสันตรง (Linear correlation) ของการใช้แถบวัดค่าครีอะตีนไคเนสเปรียบเทียบกันค่าครีอะตีนไคเนส ที่ได้ทางห้องปฏิบัติการในการวินิจฉัยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ณ เวลาต่างๆ ผู้ป่วยเข้าหลักเกณต์ทั้งสิ้น 37 ราย เป็นชาย 25 ราย หญิง 12 ราย อายุ ตั้งแต่ 42-85 ปี อายุเฉลี่ย 60 ปี ในจำนวนนี้ 23 ราย ได้รับการวินิจฉัยเป็นกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบในขั้นตอนสุดท้าย แต่ละรายได้รับการเจาะเลือดเพื่อหาครีอะตีน ไคเนสจากแถบวัดควบคู่กับการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เวลา 0.3 และ 6 ชั่วโมง หลังจากเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ระยะเวลาตั้งแต่มีอาการจนถึงเวลาที่เจาะเลือดแต่ละครั้งจะได้รับการบันทึกไว้ ผลการศึกษาพบว่าความไวของการใช้แถบวัดค่าครีอะตีน ไคเนสเปรียบเทียบกับค่าครีอะตีนไคเนสที่ได้จากห้องปฏิบัติในการวินิจฉัยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันมีค่าเท่ากับร้อยละ 91.23 ความจำเพาะเท่ากับร้อยละ 100 และมีความไวในการวินิจฉัยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันหลังจากมีอาการภายใน 6 ชั่วโมงและ 12 ชั่วโมง มีค่าเท่ากับร้อยละ 63.16 ร้อยละ 95.65 ตามลำดับ มีความจำเพาะเท่ากับร้อยละ 100 ทั้ง 2 ช่วงเวลาข้างต้น ส่วนค่าสหสัมพันธ์ (Correlation) เท่ากับ 0.85-0.89 มีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.01) และมีความถดถอยเชิงเส้นตรงเป็นอย่างดี สรุปได้ว่าการใช้แถบวัดค่าครีอะตีนไคเนสมีสหสัมพันธ์เป็นอย่างดีเทียบกับการหาค่าทางห้องปฏิบัติการและมีความไวในการวินิจฉัยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ณ เวลา 6 ชั่วโมงหลังจากมีอาการอยู่ในเกณฑ์พอใช้ แต่ที่เวลา 12 ชั่วโมงจะอยู่ในเกณฑ์ดี โดยมีความจำเพาะที่สูงมาก สามารถใช้ถดแทนค่าครีอะตีนทางห้องปฏิบัติการได้ เนื่องจากทำได้รวดเร็วและสะดวกกว่าen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to try to determine the sensitivity, specificity, correlation and linear regression of creatine kinase obtaining from the strip CK test method to the result obtaining from standard laboratory method. the test is done in the patients suspected to have acute myocardial infarction. 37 patients,25 males and 12 females were included in the study. The patient age range from 48 to 85 years with the mean age of 60. Only 23 out of 37 patients turn out to have acute myocardial infarction. For each suspected patients,the blood samples were drawn 3 times, first immediately when the patients arrived at the hospital and at 3 hours and 6 hours later. Each blood sample was tested both by strip CK test method and by regular laboratory method. The times from the onset of chest pain to the time when the blood samples were taken were all recorded for each patients. From the study the sensitive and specificily of the strip CK test for the diagnosis of acute myocardial infarction at any given time are 91.23 and 100% respectively. The sensitivity of the test at 6 hours and 12 hours after the onset of symptoms are 63.16% and 95.65% with the specificity of 100% in both timing. The correlation of the creatine kinase obtaining frome the strip CK test and standard laboratory method are 0.85-0.89 (p-value<0.01) In conclusion the correlation of the strip CK test and regular standard laboratory method is good. The sensitivity of strip CK test at 6 hours after the onset of symptoms is only fair but the sensitivity at 12 hours is quite good. The test has excellent specificity. In the situation that the quick result of creatine phosphokinase is needed. The strip CK test can be used instead of standard laboratory methd with good confidence.en
dc.format.extent786534 bytes-
dc.format.extent736751 bytes-
dc.format.extent715448 bytes-
dc.format.extent740043 bytes-
dc.format.extent723070 bytes-
dc.format.extent879492 bytes-
dc.format.extent740898 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectหัวใจ -- โรคen
dc.subjectกล้ามเนื้อหัวใจตายen
dc.titleความถูกต้องของการใช้แถบวัดค่าครีอะตีนไคเนสช่วยในการวินิจฉัยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์en
dc.title.alternativeAccuracy of creatine kinase using strip CK for diagnosis of acute myocardial infarction in Chulalongkorn Hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paiboon_Sa_front.pdf768.1 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_Sa_ch1.pdf719.48 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_Sa_ch2.pdf698.68 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_Sa_ch3.pdf722.7 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_Sa_ch4.pdf706.12 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_Sa_ch5.pdf858.88 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_Sa_back.pdf723.53 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.