Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11368
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุมพล พูลภัทรชีวิน-
dc.contributor.advisorสุภางค์ จันทวานิช-
dc.contributor.advisorสุลักษณ์ ศรีบุรี-
dc.contributor.authorศักดิ์ชัย เกียรตินาคินทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-29T02:50:57Z-
dc.date.available2009-09-29T02:50:57Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743344047-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11368-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเชิงวิเคราะห์คุณค่าศิลปกรรมของชุมชนที่ผลิตเครื่องปั้นดินเผา 2) ศึกษาเชิงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างคุณค่าศิลปกรรมกับการสร้างทัศนคติต่อตนเองและความผูกพันกับชุมชนของชาวบ้านที่ผลิตเครื่องปั้นดินเผา 3) สร้างรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างคุณค่าศิลปกรรมกับการสร้างทัศนคติต่อตนเองและความผูกพันกับชุมชน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญการศึกษาภาคสนามด้วยวิธี Participatory Rural Appraisal (PRA) เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เจาะลึก การสนทนากลุ่ม การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม ในชุมชนเครื่องปั้นดินเผาภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นำเสนอเป็นรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างคุณค่าศิลปกรรมกับการสร้างทัศนคติต่อตนเองและความผูกพันกับชุมชน และตรวจสอบรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณค่าศิลปกรรมที่ปรากฏในชุมชนคือ 1) คุณค่าด้านวัฒนธรรม 2) ด้านสุนทรียภาพและจริยธรรม 3) ด้านบุคลิกภาพและอารมณ์ 4) ด้านการเรียนรู้จากพฤติกรรมทางศิลปกรรม 5) ด้านการเรียนรู้จากพฤติกรรมทางสังคม 2. ความสัมพันธ์ระหว่างคุณค่าศิลปกรรมกับการสร้างทัศนคติต่อตนเองและความผูกพันกับชุมชน พบว่าเกิดขึ้นโดย 2.1 หากชุมชนเรียนรู้คุณค่าศิลปกรรมโดยเชื่อมโยงความคิดกับประวัติศาสตร์และความรู้ดั้งเดิมที่เป็นรากฐานของตน ก่อให้เกิดความเข้าใจ การตัดสินใจได้เอง ความมั่นใจ ความภูมิใจและความมีเกียรติภูมิ จะส่งผลให้เกิดทัศนคติต่อตนเองในเชิงบวก และหากชุมชนเกิดความคุ้นเคยกับแบบแผนทางสังคม ก่อให้เกิดความเชื่อมั่น การยอมรับการปรับตัวต่อพฤติกรรมภายในชุมชนได้ ความพอใจและความรู้สึกเป็นเจ้าของชุมชน ส่งผลให้เกิดความผูกพันกับชุมชนมาก 2.2 หากชุมชนเรียนรู้คุณค่าศิลปกรรมโดยเชื่อมโยงความคิดกับความรู้ใหม่ภายนอกชุมชน ก่อให้เกิดความไม่เข้าใจ การตัดสินใจเองไม่ได้ ความไม่มั่นใจ ความไม่ภูมิใจและขาดเกียรติภูมิ จะส่งผลให้เกิดทัศนคติต่อตนเองในเชิงลบ และหากชุมชนเกิดความไม่คุ้นเคยกับแบบแผนทางสังคม ก่อให้เกิดความไม่เชื่อมั่น การวางเฉย การปรับตัวไม่ได้ต่อพฤติกรรมภายในชุมชน ความไม่พอใจและความไม่รู้สึกเป็นเจ้าของชุมชน ส่งผลให้เกิดความผูกพันกับชุมชนน้อย 3. รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างคุณค่าศิลปกรรมกับการสร้างทัศนคติต่อตนเองและความผูกพันกับชุมชนพบว่า คุณค่าศิลปกรรมส่งผลต่อการสร้างทัศนคติต่อตนเองพร้อมกันกับความผูกพันกับชุมชนและเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีเหตุผล หากเกิดทัศนคติต่อตนเองในเชิงบวกจะเกิดความผูกพันกับชุมชนมาก แต่ถ้าเกิดทัศนคติต่อตนเองในเชิงลบจะเกิดความผูกพันกับชุมชนน้อยen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to analyse ceramic artistic values, self attitude and community attachment of villagers and to develop a model exhibiting relationship between artistic values and self attitude and community attachment. A qualitative research methodology, namely, Participatory Rural Appraisal (PRA) was employed in data collection by using the techniques of indepth interview, time line, focus group, discussion and observation, both non-participant observation and participant observation. The research was conducted in 2 villages in the northern and north-eastern area. Expert judgment was used to reexamine and improve the model. Research findings were as follows: 1. Artistic values appeared in community were 1) culture 2) aesthetics and moral 3) personality and emotion 4) artistic behavior learning 5) social behavior learning 2. The relationship between artistic values and the formation of self attitude and community attachment could be originated through the formulation of the following processes. 2.1 If artisfic value learning were made by relating learning with historical and internal knowledge, it would form an understanding, self decision, self confidence, pride, self esteem resulting in positive self attitude and if people were well acquainted with social pattern, it would form confidence, acceptance, good adjustment in social conduct, satisfaction and sense of belonging resulting in high attachment. 2.2 If artisfic value learning were made by relating learning with external knowledge, it would form misunderstanding, hesitation, diffidence, humility, disesteem resulting in negative self attitude and if people were unacquainted with social pattern, it would form diffidence, disinterest, derangement in social conduct, dissatisfaction and lacking of belonging resulting in low attachment. 3. The model of the relationship between artistic values and the formation of self attitude and community attachment showed that artistic values would form self attitude and community attachment at the same time and occur reasonably in the same direction: positive attitude and high.en
dc.format.extent866025 bytes-
dc.format.extent904021 bytes-
dc.format.extent852164 bytes-
dc.format.extent952945 bytes-
dc.format.extent1566276 bytes-
dc.format.extent1873836 bytes-
dc.format.extent1270920 bytes-
dc.format.extent1039691 bytes-
dc.format.extent1180981 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.508-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางสังคมen
dc.subjectชุมชนen
dc.subjectเครื่องเคลือบดินเผาen
dc.subjectศิลปะกับสังคมen
dc.subjectมนุษย์กับวัฒนธรรมen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างคุณค่าศิลปกรรมกับการสร้างทัศนคติต่อตนเองและความผูกพันกับชุมชนen
dc.title.alternativeThe relationship between artistic values and the formation of self attitude and community attachmenten
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineพัฒนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChumpol.Po@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSupang.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSulak.S@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.508-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sakchai_Ki_front.pdf845.73 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Ki_ch1.pdf882.83 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Ki_ch2.pdf832.19 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Ki_ch3.pdf930.61 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Ki_ch4.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Ki_ch5.pdf1.83 MBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Ki_ch6.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Ki_ch7.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Ki_back.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.