Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/114
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สรรพัชญ์ นามะโม | - |
dc.contributor.advisor | วิทยา ยงเจริญ | - |
dc.contributor.author | ปณิชา วีระญาณนนท์, 2517- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-05-29T02:41:58Z | - |
dc.date.available | 2006-05-29T02:41:58Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.isbn | 9741716273 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/114 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาผลของรูปร่างของรากฟันเทียมต่อการกระจายความเค้นโดยอาศัยวิธีการโฟโต้อีลาสติคแบบ 2 มิติ ปัจจัยที่ศึกษา ประกอบด้วย ความสอบ, รูปร่างเกลียว,ระยะห่างระหว่างเกลียวและความลึกของเกลียว แบบจำลองไบรีฟรินเจน 16 ชิ้นซึ่งแตกต่างกันโดยลักษณะการออกแบบ ถูกสร้างขึ้นจากโฟโต้อีลาสติค เรซิน มีการตรวจสอบแบบจำลองทุกชิ้นว่าไม่มีความเค้นหลงเหลืออยู่อันเนื่องมาจากการหดตัวของเรซิน ทำการศึกษาโดยการให้แรงกดแก่แบบจำลองแต่ละตัวภายใต้ 2 สภาวะ คือ ในแนวแกนและเอียงทำมุม 20 องศากับแนวแกน แล้วถ่ายรูปแบบความเค้นที่เกิดขึ้น จากการศึกษาพบว่ารากฟันเทียมทุกแบบแสดงการกระจายความเค้นคล้ายคลึงกัน โดยที่ความเค้นสูงสุดอยู่ที่ส่วนปลาย 1/3 ของความยาวรากฟันเทียม รากฟันเทียมทรงกระบอกให้การกระจายความเค้นดีกว่าทรงสอบ การใส่เกลียวทำให้การกระจายความเค้นดีขึ้น โดยรูปร่างเกลียวมีผลน้อยมากหรือแทบไม่มีผลต่อการกระจายความเค้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางด้านในที่เล็กลง, ระยะห่างระหว่างเกลียวที่มากขึ้นและความลึกเกลียวที่ลดลง ทำให้เกิดความเค้นสะสมรอบปลายรากฟันเทียมมากขึ้น | en |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research is to study the effect of macrostructural design of root form implant on stress distribution by using two dimensional photoelastic stress analysis. The design variations were taper, thread design, pitch distance and depth of thread. Sixteen birefringent models of different root form implant designs were made from photoelastic resin. Each specimen was examined in order to ensure that no residual stress was present as a result of shrinkage. Studies were made by loading each specimen under two conditions, one of which was axially and the other at an angle of 20 degree to the axis. The stress patterns were photographed. It was found that all implant types exhibited similar stress distribution pattern, i.e., maximum stress was found in the apical third of the implant. Cylinder implant provided better stress distribution than tapered implant. Thread shape had little or no effect on stress distribution. Decreasing inner diameter, increasing pitch distance and decreasing thread depth increased stress concentration around apical region of the implants. | en |
dc.format.extent | 4085422 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2002.594 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ทันตกรรมรากเทียม | en |
dc.subject | โฟโตอิลาสติก | en |
dc.subject | ความเครียดและความเค้น | en |
dc.title | ผลของเกลียวแบบต่างๆ ของรากเทียมต่อการกระจายแรงเค้นด้วยวิธีโฟโต้อีลาสติค | en |
dc.title.alternative | Effect of different thread designs of implant body on stress distribution by two-dimensional photoelastic method | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | ทันตกรรมประดิษฐ์ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Sunphat.N@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | fmewyc@eng.chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2002.594 | - |
Appears in Collections: | Dent - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Panisha.pdf | 3.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.