Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11561
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจันทนี อิทธิพานิชพงศ์-
dc.contributor.advisorนิจศิริ เรืองรังษี-
dc.contributor.authorปิยะนุช โตเอี่ยม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-10-26T03:11:49Z-
dc.date.available2009-10-26T03:11:49Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741749058-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11561-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการศึกษาฤทธิ์เบื้องต้นทางเภสัชวิทยาของน้ำมัน ระเหยจากเหง้าขมิ้นขาว ต่อกล้ามเนื้อเรียบหลอดเลือดแดงใหญ่หนูขาว หลอดลมหนูตะเภา ลำไส้เล็กส่วน jejunum กระต่าย ลำไส้เล็กส่วน ileum หนูตะเภา และกระเพาะอาหารทั้งกระเพาะของหนูถีบจักรที่แยกจากกาย พบว่าสารละลายน้ำมันระเหยจากเหง้าขมิ้นขาว แบบสะสมขนาด 2x10[superscript -3]-3.2x10[superscript -2]% มีผลกระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบทุกอวัยวะที่ศึกษาหดตัวเพิ่มขึ้น การหดตัวสูงสุดที่พบในกล้ามเนื้อเรียบหลอดเลือดแดงใหญ่หนูขาว หลอดลมหนูตะเภา ลำไส้เล็กส่วน jejunum กระต่าย ลำไส้เล็กส่วน ileum หนูตะเภาและกระเพาะอาหารทั้งกระเพาะของหนูขาวเป็น 40.65%, 40.41%, 28.70%, 40.29% และ 18.08% ตามลำดับ (EC[subscript 50] = 8x10[superscript -3], 4x10[superscript -3], 4x10[superscript -3], 4x10[superscript -3], 2x10[superscript -3] การทดสอบกลไกการออกฤทธิ์ของน้ำมันระเหยต่อ cholinergic receptor โดยใช้ atropine พบว่าสามารถยับยั้งการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบหลอดลมหนูตะเภา ลำไส้เล็กส่วน jejunum กระต่าย ลำไส้เล็กส่วน ileum หนูตะเภา และกระเพาะอาหารทั้งกระเพาะที่เกิดจากการกระตุ้นด้วยน้ำมันระเหยจากเหง้า ขมิ้นขาวได้ การทดสอบกลไกการออกฤทธิ์ของน้ำมันระเหยต่อ histaminergic receptor และ serotonin receptor ในกล้ามเนื้อเรียบหลอดลมหนูตะเภา ลำไส้เล็กส่วน jejunum กระต่าย กล้ามเนื้อเรียบลำไส้เล็กส่วน ileum หนูตะเภา และกระเพาะอาหารทั้งกระเพาะหนูถีบจักร โดยใช้ chlorpheniramine และ cyproheptadine พบว่า chlorpheniramine 1x10[superscript -7] M และ cyproheptadine 1x10[superscript -7]M สามารถยับยั้งการหดตัวที่เกิดจากการกระตุ้นด้วยน้ำมันระเหยได้ การศึกษาผลของน้ำมันระเหยต่อ calcium ภายนอกเซลล์ในการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบ โดยใช้ verapamil ยับยั้งการผ่านเข้าเซลล์ของ calcium ภายนอกเซลล์ในกล้ามเนื้อเรียบหลอดเลือดแดงใหญ่หนูขาว และกล้ามเนื้อเรียบส่วน ileum หนูตะเภา พบว่าสามารถยับยั้งการหดตัวที่เกิดจากการกระตุ้นด้วยน้ำมันระเหยได้ การศึกษากลไกการออกฤทธิ์ของน้ำมันระเหยต่อ alpha-adrenegic receptor ในกล้ามเนื้อเรียบหลอดเลือดแดงใหญ่หนูขาว พบว่า prazosin สามารถยับยั้งการหดตัวที่เกิดจากการกระตุ้นด้วยน้ำมันระเหยได้ และในการทดลองในลำไส้หนูถีบจักรสภาพปกติ พบว่าน้ำมันระเหยจากเหง้าขมิ้นขาวสามารถเพิ่มระยะทางการเคลื่อนที่ ของผงถ่านในลำไส้เล็กได้มากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ จากผลการทดลองสรุปได้ว่าน้ำมันระเหยที่สกัดจากเหง้าขมิ้นขาวแบบสะสมขนาด 2x10[superscript -3]-3.2x10[superscript -2]% สามารถกระตุ้นให้กล้ามเนื้อเรียบจากอวัยวะต่างๆ โดยผ่านตัวรับหลายชนิดแบบไม่จำเพาะเจาะจง และแคลเซียมภายนอกเซลล์มีผลต่อการหดตัวด้วยen
dc.description.abstractalternativeA preliminary investigation of the effect of the volatile oil from the rhizome of curcuma mangga was performed on various smooth muscle preparations. It was found that cumulative dose of the volatile oil (2x10[superscript -3] - 3.2x10[superscript -2]%) exerted smooth muscle stimulation effects and the maximal contraction found in rat aorta, guinea-pig trachea, rabbit jejunum, guinea-pig ileum and the whole mice stomach were 40.65, 40.41, 28.70, 40.29 and 18.08% respectively. (EC[subscript 50] = 8x10[superscript -3], 4x10[superscript -3], 4x10[superscript -3], 4x10[superscript -3], 2x10[superscript -3] % respectively) In rabbit jejunum, guinea-pig ileum and the whole mice stomach, it was clearly demonstrated that the volatile oil elicited contractile response mediated through cholinergic receptor since atropine was able to inhibit the contraction at every cumulative concentration point. Moreover, the contraction induced by the volatile oil in guinea-pig ileum, rabbit jejunum, guinea-pig trachea and mice whole stomach were significantly decreased after incubated in chlorpheniramine (H[subscript 1]-receptor antagonist and cyproheptadine (5-HT antagonist). Extracellular calcium also played part in the volatile oil-induced rat aortic and guinea-pig ileal contraction because verapamil prominently reduced their contraction. Rat aortic contraction mediated via alpha-adrenergic receptor stimulation was one of the possible mechanism because its contraction was inhibited by prazosin (1x10[superscript -7]M). Gastrointestinal stimulant effect of the volatile oil was demonstrated in intact mice since the oil significantly increased charcoal movement from stomach to ileo-caecal junction. It could be concluded that the volatile oil from the rhizome of curcuma mangga stimulated smooth muscle contraction by non specific mechanisms. Different type of receptors stimulation and interference with the extracellular calcium movement were the possible mechanism.en
dc.format.extent2035215 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำมันหอมระเหยen
dc.subjectขมิ้นขาว -- เคมีวิเคราะห์en
dc.subjectกล้ามเนื้อเรียบen
dc.titleการศึกษาผลของน้ำมันระเหยจากเหง้าขมิ้นขาว (Curcuma mangga) ต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบen
dc.title.alternativeEffects of volatile oil from the rhizome of curcuma mangga on smooth muscle contractionsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเภสัชวิทยา (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorNijsiri.R@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piyanooch.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.