Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11566
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชาญวิทย์ โฆษิตานนท์-
dc.contributor.authorวีระพงษ์ พรประสาทผล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-10-26T03:31:04Z-
dc.date.available2009-10-26T03:31:04Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741714181-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11566-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractศึกษาการผลิตฟรักโตโอลิโกแซ็กคาไรด์ (Fructooligosaccharides, FOS) ในการเพาะเลี้ยง Penicillium sp. H12 ในขวดเขย่าภายใต้สภาวะการเพาะเลี้ยงที่เหมาะสมในการผลิต พบว่าหัวเชื้อที่มีอายุต่างกันสามารถผลิต FOS ได้ใกล้เคียงกัน และหัวเชื้ออายุ 18 ชั่วโมงมีประสิทธิภาพในการผลิต FOS ได้ดีที่สุดในถังหมัก เมื่อเพิ่มปริมาณน้ำตาลซูโครสเข้มข้นอีก 50 กรัมต่อลิตรในระหว่างการผลิต พบว่าการเติมน้ำตาลซูโครสในชั่วโมงที่ 9 และ 12 ของการผลิตเหมาะสมต่อการผลิต FOS และเมื่อเพิ่มปริมาณน้ำตาลซูโครสสูงมากเป็น 100, 150 และ 200 กรัมต่อลิตร พบว่ากลับทำให้การผลิตลดลง และเมื่อเติมน้ำตาลซูโครสอย่างต่อเนื่อง (ใช้น้ำตาลซูโครส 200, 300 และ 400 กรัมต่อ 600 มิลลิลิตร) ตั้งแต่ชั่วโมงที่ 12 ของการผลิตด้วยอัตราเร็ว 1 มิลลิลิตรต่อนาทีเป็นเวลา 10 ชั่วโมง พบว่าทำให้การผลิต FOS เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และผลผลิตใกล้เคียงกัน จากการศึกษากิจกรรมของเอนไซม์ พบว่าเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต FOS เป็นเอนไซม์ที่ถูกขับออกนอกเซลล์ มีกิจกรรมของเอนไซม์สูงที่สุด ณ ชั่วโมงที่ 12 - 15 การศึกษาการแยกน้ำตาลในน้ำหมักโดยใช้คอลัมน์ผงถ่านกัมมันต์ที่อัตราการไหล 1 มิลลิลิตรต่อนาที พบว่าสามารถแยกน้ำตาลกลูโคสกับน้ำตาลฟรักโตสออกได้โดยการชะด้วยน้ำกลั่น และแยกน้ำตาลซูโครสออกได้โดยการชะด้วยเอทานอลเข้มข้น 5 เปอร์เซ็นต์ และเก็บเกี่ยว FOS ออกมาด้วยเอทานอลเข้มข้น 15 เปอร์เซ็นต์ โดยมีประสิทธิภาพในการเก็บเกี่ยว 95% และสามารถใช้คอลัมน์ซ๊ำได้อย่างน้อย 4 ครั้งen
dc.description.abstractalternativeAge of seed culture for fructooligosaccharides (FOS) production using Penicillium sp. H12 at optimal conditions for shaked flask culture was found non significant for FOS yield. But in fermentor, the seed age of 18th hour yield the highest FOS. Addition of 50 g/l sucrose at the 9th and 12th hour gave the best yield of FOS. But addition of sucrose at 100, 150 and 200 g/l sucrose reduced FOS yield significantly. Sucrose addition continuously at 1 ml/min could overcome the concentration effect. With continuous addition, even total addition of 400 g of sucrose still increased FOS yield as compared to the non added one. Enzyme response for FOS production was found mainly as an extracellular enzyme. The highest enzyme activity was detected at the 12th-15th hour of culture. FOS purification was done successfully by using activated carbon column eluted with 15% ethanol. The recover of more than 95% was achieved with at least 4 repeating usage.en
dc.format.extent1442982 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectฟรักโตโอลิโกแซคคาไรด์en
dc.subjectการเพาะเลี้ยง (ชีววิทยา)en
dc.subjectPenicillium sp. H12en
dc.subjectFed-batch cultureen
dc.titleการผลิตฟรักโตโอลิโกแซ็กคาไรด์โดย Penicillium sp. H12 ในการเลี้ยงแบบเฟดแบทen
dc.title.alternativeFructooligosaccharides production by Penicillium sp. H12 in fed-batch cultureen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorCharnwit@sc.chula.ac.th, Charnwit.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Verapong.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.