Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11850
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชาลีดา บรมพิชัยชาติกุล-
dc.contributor.advisorอภิรดี อุทัยรัตนกิจ-
dc.contributor.authorชูสิทธิ์ หงษ์กุลทรัพย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-12-17T02:11:07Z-
dc.date.available2009-12-17T02:11:07Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11850-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractบุกพันธุ์เนื้อทราย (Amorphophallus oncophyllus) เป็นพันธุ์พื้นเมืองของไทยที่มีความสำคัญ เนื่องจากใช้ประโยชน์ทางอุตสาหกรรมผลิตผงบุกหรือกลูโคแมนแนน ซึ่งเป็นเส้นใยอาหาร (dietary fiber) จึงมีแนวคิดที่จะศึกษาภาวะที่เหมาะสมในการสกัดผงบุก และศึกษาผลการนำผงบุกที่สกัดได้นี้ไปใช้ประโยชน์ งานวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ชั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนแรกศึกษาการผลิตผงบุกจากหัวบุกสด โดยการสกัดแบบเปียกร่วมกับการทำแห้งแบบพ่นกระจาย (Spray drying) โดยใช้สารละลายเอทานอล 95% ในการล้าง จากนั้นนำของแข็งที่กรองได้ไปผสมกับน้ำในอัตราส่วนความเข้มข้น 1% นำไปทำแห้งแบบพ่นกระจายโดยใช้อุณหภูมิ 4 ระดับ คือ 140, 160 180 และ 200 ํC จากการทดลองพบว่า อุณหภูมิในการทำแห้งมีผลต่อคุณภาพของผงบุก โดยที่อุณหภูมิ 140 ํC ผลบุกที่ได้จะมีคุณภาพสี ความหนืดเมื่อละลายน้ำ ขนาดอนุภาค และปริมาณกลูโคแมนแนนดีกว่าทรีตเมนต์อื่นอย่างมีนัยสำคัญ (p <= 0.05) ขั้นตอนที่สองเป็นการศึกษาการเตรียมฟิล์มจากผงบุกที่สกัดได้ โดยเตรียมฟิล์มจากผลบุกความเข้มข้น 1% กับกลีเซอรอล 0.3% (Treatment 1) และฟิล์มจากผลบุกความเข้มข้น 1% กับกลีเซอรอล 0.3% และโปแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) 0.5 M 0.14% (Treatment 2) จากผลการทอลองพบว่า สารละลายด่าง (KOH) มีผลต่อสมบัติของฟิล์มบุก โดยฟิล์มบุกที่เติม KOH (Treatment 2) มีค่าการต้านทานแรงดึงขาด การยืดตัวสูงกว่า แต่ค่าการซึมผ่านของไอน้ำและก๊าซออกซิเจนต่ำกว่าฟิล์มบุกที่ไม่มี KOH (Treatment 1) อย่างมีนัยสำคัญ (p <= 0.05) และขั้นตอนจสุดท้ายเป็นการศึกษาการนำผงบุกไปใช้เป็นสารเคลือบผิวชมพู่พันธุ์ทับทิมจันท์ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา โดยมี 3 ทรีตเมนต์ คือ ชมพู่ไม่เคลือบผิว ชมพู่เคลือบผิวด้วยสารละลาย Treatment 1 และชมพู่เคลือบผิวด้วยสารละลาย Treatment 2 โดยทั้งหมดเก็บที่อุณหภูมิ 13 ํC ความชื้นสัมพัทธ์ 88% จากผลการทดลองพบว่า สารเคลือบผิวช่วยลดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของชมพู่ โดยสารเคลือบผิวทั้งสองทรีตเมนต์สามารถชะลอการสูญเสียน้ำหนัก ความแน่นเนื้อ ลดอัตราการหายใจ และอัตราการผลิตก๊าซเอทิลีนได้ดีกว่าชมพู่ที่ไม่เคลือบผิว อย่างมีนัยสำคัญ (p <= 0.05) ตลอดระยะเวลาการเก็บรักษา 15 วันen
dc.description.abstractalternativeElephant yam (Amorphophallus oncophyllus) is an important local species used for the production of konjac power (glucomannan), a dietary fiber. Suitable conditions for konjac powder production and edible coating application for maintaining storage quality of fruit were studied. This experiment was divided into 3 parts; the first part was production of konjac powder using a combination of wet process extraction and spray drying. Konjac slices were rinsed by blending with ethanol 95%. Filtered solids were mixed with water at concentration of 1% and spray dried at inlet temperature 140, 160, 180 and 200 ํC. The results showed that drying temperature affected the quality of konjac powder. Spray drying at temperature 140 ํC produced good colour, viscosity when dissolved, particle size and significantly better glucomannan quantity than other treatments (p <= 0.05). Part two was the preparation of konjac films from konjac powder 1% and glycerol 0.3% (treatment 1) and from konjac powder 1%, glucerol 0.3% and KOH 0.5 M 0.14% (treatment 2). The result showed that additional KOH affected the properties of konjac film. Konjac film with added KOH (treatment 2) had higher tensile strength and elongation but sinnificantly lower water vapour permeability and oxygen permeability than konjac film without adding KOH (treatment 1) (p <= 0.05). In the final part konjac powder was used as an edible coating for 'tup tim jun' java apple. Konjac coating (treatment 1) and (treatment 2) were compared with non-coating (control) at storage temperature 13 ํC and relative humidity 88%. The results showed that the coating delayed the change of java apple's quality. Both konjac coatings (treatment 1 and treatment 2) could significantly retard firmness, weight loss, respiration rate and ethylene production (p <= 0.05) during 15 days storage.en
dc.format.extent2339229 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectบุก (พืช)en
dc.subjectสารเคลือบบริโภคได้en
dc.subjectการสกัด (เคมี)en
dc.titleการผลิตผงบุกโดยการสกัดแบบเปียกร่วมกับการทำแห้งแบบพ่นกระจาย และการประยุกต์ใช้ในการยืดอายุการเก็บรักษาชมพู่พันธุ์ทับทิมจันท์en
dc.title.alternativeProduction of konjac powder using combination of wet process extraction and spray drying and application on extending shelf life of 'Tup Tim Jun' java apple (Eugenia jumbos)en
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางอาหารes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChaleeda.B@Chula.ac.th-
dc.email.advisorapiradee.uth@kmutt.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Choosit_Ho.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.