Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11900
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัมพล สูอำพัน-
dc.contributor.advisorปิยลัมพร หะวานนท์-
dc.contributor.authorปราลบ พรมล้วน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-12-28T07:17:47Z-
dc.date.available2009-12-28T07:17:47Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741426429-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11900-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศ ของเด็กอนุบาลกลุ่มควบคุมกับกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการสอนเรื่องการสัมผัสและทักษะการป้องกันการล่วงละเมิศทางเพศ และเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศ ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอนเรื่องการสัมผัสและทักษะการป้องกันการล่วงละเมิศทางเพศ (กลุ่มทดลอง) และกลุ่มที่ไม่ได้รับการสอน (กลุ่มควบคุม) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษานี้ เป็นนักเรียนอนุบาล โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เขตบางคอแหลม แบ่งออกเป็นกลุ่มควบคุมจำนวน 80 คน และกลุ่มทดลองจำนวน 80 คน รวมทั้งสองกลุ่มเป็นจำนวน 160 คน กลุ่มทดลองได้รับการสอนเรื่องการสัมผัสและทักษะการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศจำนวน 6 ครั้ง โดยใช้เวลาครั้งละ 30 นาที ส่วนกลุ่มควบคุม ได้รับการสอนเกี่ยวกับส่วนต่างๆ ของร่างกายจำนวน 1 ครั้งโดยใช้เวลา 30 นาที ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. จากการวิจัยพบว่า เด็กอนุบาล ภายหลังเข้าร่วมการสอนเรื่องการสัมผัสและทักษะการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศ มีความสามารถในการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศมากกว่าก่อนเข้าร่วมการสอนฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<.001 2. จากการวิจัยพบว่า เด็กอนุบาลกลุ่มทดลอง ภายหลังเข้าร่วมการสอนเรื่องการสัมผัสและทักษะการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศ มีความสามารถในการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศ มากกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<.001en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this Quasi experimental research was to study the personal safety skill against sexual abuse. The participants were 160 preschoolers in Bang-kholam District of The Bangkok Metropolis. By purposive samplings, 80 students in each group were selected into a control and an experimental group. The experimental group was taught the right touch and various safety skills against sexual abuse for 6 sessions of 30 minutes each. The control group received only knowledge about body parts for one session of 30 minutes without mentioning of sexual abuse at all. The 2 groups were then compared for their personal safety skills against sexual abuse. Major findings were as follows: 1. The experimental group exhibits better knowledge and personal skills against sexual abuse after the teaching intervention than before the intervention, significantly p<.001. 2. The experimental group exhibits better knowledge and personal skills against sexual abuse more than the control group, significantly p<.001.en
dc.format.extent1609285 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอาชญากรรมทางเพศen
dc.subjectพัฒนาการของเด็กen
dc.subjectการเรียนรู้en
dc.subjectนักเรียนอนุบาลen
dc.titleการสอนเรื่องการสัมผัสและทักษะการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศในเด็กอนุบาล โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เขตบางคอแหลมen
dc.title.alternativeTeaching the right touch and personal safety skills against sexual abuse to pre-school children of Bang-Kholam District in Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเพศศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorUmpon.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Parlop_Pr.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.