Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1190
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพศาล กิตติศุภกร-
dc.contributor.advisorธิติพงศ์ หิรัญบูรณะ-
dc.contributor.authorดำเนิน เกียรติชูสกุล, 2517--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-28T12:40:51Z-
dc.date.available2006-07-28T12:40:51Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740310958-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1190-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการควบคุมเครื่องทำระเหยแบบสองห้องระเหยเป็นที่รู้กันดีว่ามีความยุ่งยากเนื่องจากมีการกระทำระหว่างกันของสเตทหลายตัว ในปัจจุบันการควบคุมเครื่องทำระเหยใช้การควบคุมแบบแมนนวล ส่งผลให้ความเข้มข้นสุดท้ายของผลิตภัณฑ์ที่ต้องการมีความผันแปรสูง และใช้ปริมาณไอน้ำสิ้นเปลือง ดังนั้นจึงเป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องทำการศึกษาหาตัวควบคุมที่สามารถประยุกต์ใช้ในการควบคุมเครื่องทำระเหยที่ได้สมรรถนะการควบคุมที่ดีกว่า การควบคุมแบบแมนนวล ในงานวิจัยนี้ได้นำเสนอ สมรรถนะการควบคุมของตัวควบคุมแบบป้อนกลับสเตท แบบเจเนริกโมเดล และแบบพีไอ ในการควบคุมเครื่องทำระเหยแบบสองห้องระเหย ผลปรากฏว่าตัวควบคุมแบบป้อนกลับสเตท แบบเจเนริกโมเดล และแบบพีไอ สามารถให้สมรรถนะในการควบคุมที่ใกล้เคียงกัน ในกรณีศึกษาที่ให้ตัวแปรรบกวน คือ ความเข้มข้นในสายป้อน เท่ากับ 8 เปอร์เซ็นต์ อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงตัวแปรรบกวน คือ ความเข้มข้นในสายป้อน ที่ค่าอื่นๆ แล้ว ตัวควบคุมแบบเจเนริกโมเดลให้ผลการตอบสนองการควบคุม ดีที่สุด คือ มีค่าไอเออี น้อยที่สุด แสดงว่า ตัวควบคุมแบบเจเนริกโมเดล สามารถประยุกต์ใช้ในการควบคุมเครื่องทำระเหยได้en
dc.description.abstractalternativeIt has been well known that the control of a double-effect evaporator is difficult due to high interacting of states. Presently, the control of the evaporator is carried out in a manual mode resulting in the high variations of a desired product concentration and the high consumption of steam. Therefore, a controller that is applicable to control the evaporator with better control performance than obtained by the manual mode is needed. This research presents the control performance of State Feedback Controller (SFC), Generic Model Controller (GMC) ad PI controller in the control of a double-effect evaporator. It was found that the GMC, SFC and PI controllers can provide equivalent control performances in the nominal case with the feed concentration disturbance of 8 percentage. However, with respect to other disturbances of feed concentration, the GMC controller gives a best control response; the IAE of the GMC controller is the least. This shows that the GMC is applicable to control the evaporator.en
dc.format.extent1840125 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเครื่องทำระเหย -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์en
dc.subjectเครื่องทำระเหย -- การควบคุมen
dc.titleการสร้างแบบจำลองและควบคุมเครื่องทำระเหยน้ำสับปะรดen
dc.title.alternativeModeling and control of a pineapple juice evaporatoren
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPaisan.K@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Damnern.pdf1.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.