Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12121
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปิ่นรัชฏ์ กาญจนัษฐิติ | - |
dc.contributor.advisor | พรพรรณ จันทโรนานนท์ | - |
dc.contributor.author | รุ่ง สุจินันท์กุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2010-03-05T09:07:13Z | - |
dc.date.available | 2010-03-05T09:07:13Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743349235 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12121 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en |
dc.description.abstract | ศาลเจ้าเป็นศาสนสถานที่กำเนิดจากศาสนาเต๋าและความเชื่อพื้นบ้าน ที่มีความผูกพันและมีอิทธิพลต่อชาวจีนโพ้นทะเลและลูกหลานชาวจีนในไทยมาเป็นระยะเวลานาน และเป็นสถาปัตยกรรมแบบจีนประเพณีที่มีความสวยงาม มีความศักดิ์สิทธิ์ และมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว รวมทั้งเป็นศาสนสถานจีนที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทยและประเทศจีนด้วย จึงถือได้ว่าศาลเจ้าเป็นสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าควรแก่การอนุรักษ์อย่างยิ่ง ดังนั้นงานวิจัยครั้งนี้จึง มีจุดประสงค์เพื่อให้ได้มาซึ่งแนวความคิดในการอนุรักษ์ศาลเจ้าจีนในกรุงเทพฯ ที่สร้างขึ้นในช่วงสมัยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 5 โดยมุ่งเน้นในเรื่องสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมเป็นหลัก เริ่มต้นจากการศึกษาทฤษฎี หลักการ และกฎหมายการอนุรักษ์ที่เกี่ยวข้อง ศึกษาประวัติศาสตร์ ความเป็นมา และจุดกำเนิดของศาสนสถานประเภทนี้ทั้งที่ประเทศจีนและไทย จากนั้นสำรวจศาลเจ้าจีนของทั้ง 5 กลุ่มภาษาที่สร้างขึ้นในช่วงดังกล่าวในกรุงเทพฯ ทั้งหมด และนำข้อมูลจากการสำรวจมาวิเคราะห์เพื่อให้ได้ประเด็นหลัก 4 ประการ คือ บทสรุปของรูปแบบทางสถาปัตยกรรม หัวใจหรือเอกลักษณ์สำคัญของศาลเจ้า บทสรุปของปัญหาโดยรวมและการประเมินคุณค่าอาคาร และ ก็นำข้อมูลทั้งหมดมาสรุปเป็นแนวความคิดและแนวทางในการอนุรักษ์ ผลการวิจัยพบว่า แนวทางของการอนุรักษ์และพัฒนาเป็นแนวความคิดที่เหมาะสม เนื่องจากศาลเจ้าเป็นโบราณสถานที่ยังมีการใช้งานอยู่ โดยมีแนวโน้มไปในทางอนุรักษ์มากกว่าพัฒนาเพราะศาลเจ้ายุคนี้ถือเป็นสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่ามากซึ่งไม่สามารถหาหรือสร้างทดแทนขึ้นใหม่ได้ แนวทางการอนุรักษ์นี้จะเป็นการรักษาคงสภาพเดิมและฟื้นฟูส่วนที่เสียหายหรือเปลี่ยนแปลงจากการใช้งานในอดีต ส่วนการพัฒนาคือ การเปิดโอกาสให้มีการปรับปรุงในบางส่วนเพื่อให้สอดคล้องต่อการใช้งานในปัจจุบัน แต่จะต้องอยู่ในขอบเขตที่ก่อให้เกิดผลเสียต่ออาคารเก่าน้อยที่สุด ในภาพรวมจะมีขั้นตอนที่สำคัญดังนี้ 1. ขึ้นทะเบียนศาลเจ้าที่มีคุณค่าสูงเป็นโบราณสถาน 2. สร้างความเข้าใจและสร้างจิตสำนึกที่เห็นในคุณค่าของโบราณสถาน รวมทั้งปลูกฝังทัศนคติที่ถูกต้องต่อการอนุรักษ์แก่เจ้าของศาลเจ้าและผู้สักการะ 3. จัดตั้งหน่วยงานหลักในการดูแลงานอนุรักษ์ และพัฒนาด้านข้อมูลความรู้ของศาลเจ้าโดยรวม 4. ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการศาลเจ้า 5. ศึกษาพัฒนาในเรื่องข้อมูลความรู้และวิชาช่างที่เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมจีน 6. ทำการตรวจสภาพและดำเนินงานอนุรักษ์ศาลเจ้า โดยที่จะต้องคงหัวใจอันสำคัญของศาลเจ้าทั้ง 6 ประการ คือ องค์รูปเคารพ, สัญลักษณ์ทางศิริมงคลหรือศิลปกรรมตกแต่งอาคร, การวางผังบริเวณ, ที่ว่างและบรรยากาศอันศักดิ์สิทธิ์, พิธีกรรมทางศาสนา และรูปแบบทางสถาปัตยกรรม 7.ทำการวางแผนการดูแลรักษา | en |
dc.description.abstractalternative | Chinese shrine is the place of worship originated from Taoist and folk beliefs that influenced oversea Chinese and Chinese descendant in Thailand for a long time. It has beauty, sacredness and uniqueness that follow the traditional Chinese architecture. Furthermore, shrine is the oldest Chinese religion architecture in China as well as in Thailand, therefore it is considered to be valuable architecture worthy for conservation. The main objective is to set up the conservation concept of Chinese shrine in Bangkok constructed between the reign of King Rama I and King Rama V, emphasizing on the architectural and work of art conservation. Startes from the study in theory, principle, technique and law of conservation as well as the study on the history and the development of Chinese shrine. Surveys all of the Chinese shrines of five ethnics in Bangkok, which constructed during these reigns. Four important issues are analyzed namely the architectural style, the essence and identity of Chinese shrine, the analysis of the problems and the architectural value evaluation. Finally, to set the concept and guidelines conservation. The main concept for conservation is the conservation and development approach because Chinese shrine is a living monument. However, in the emphasis is more on conservation because of the high architectural value of the shrine that cannot be reproduce if loss. The conservation principle is the preservation and the protection of the original elements, and the restoration of decayed parts. The development approach is allowed to add-on and change in some elements to accommodate the present usage, with the minimum damage to the original parts. The guidelines for the conservation of the Chinese shrine are: 1. To evaluate the value of the shrines for listed. 2. To encourage the worshiper and owner's understanding and appreciation of historic building and to promote the attitude of appropriate conservation. 3. To set up a main organization for conservation and knowledge development. 4. To develop the administration and management of Chinese shrine. 5. To study and develop the knowledge of Chinese architecture, work of art and craftsmanship. 6. To investigate the building and to carry out the appropriate conservation work. Six essences of Chinese shrine: deity image, fortunate symbol or decorative art, planning arrangement, sacred space and atmosphere, religion cermony and architectural style must be retained. 7. To set up a suitable maintenance program. | en |
dc.format.extent | 923220 bytes | - |
dc.format.extent | 775566 bytes | - |
dc.format.extent | 876186 bytes | - |
dc.format.extent | 2172595 bytes | - |
dc.format.extent | 7993026 bytes | - |
dc.format.extent | 3254457 bytes | - |
dc.format.extent | 3036700 bytes | - |
dc.format.extent | 1432701 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.1999.213 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ศาลเจ้า -- ไทย | en |
dc.subject | โบราณสถาน -- การอนุรักษ์และการบำรุงรักษา | en |
dc.subject | สถาปัตยกรรมศาสนา -- ไทย | en |
dc.subject | สถาปัตยกรรมจีน -- ไทย | en |
dc.subject | ชาวจีน -- ไทย | en |
dc.subject | ศาลเจ้า -- การอนุรักษ์และการบำรุงรักษา | en |
dc.title | การศึกษาเพื่อเสนอแนวความคิดในการอนุรักษ์ศาลเจ้าจีนในกรุงเทพฯ ที่สร้างขึ้นช่วงสมัยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 5 | en |
dc.title.alternative | The study for conservation concept of Chinese shrines in Bangkok : between the reign of King Rama V. | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สถาปัตยกรรม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | kpinraj@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.1999.213 | - |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Roong_Su_front.pdf | 901.58 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Roong_Su_ch1.pdf | 757.39 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Roong_Su_ch2.pdf | 855.65 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Roong_Su_ch3.pdf | 2.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Roong_Su_ch4.pdf | 7.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Roong_Su_ch5.pdf | 3.18 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Roong_Su_ch6.pdf | 2.97 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Roong_Su_back.pdf | 1.4 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.