Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12141
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มานพ วราภักดิ์ | - |
dc.contributor.author | รัศมี หนานสายออ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2010-03-09T01:15:21Z | - |
dc.date.available | 2010-03-09T01:15:21Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743329803 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12141 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en |
dc.description.abstract | ปริมาณน้ำฝนเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญในการเกษตรกรรม ดังนั้นถ้าศึกษาข้อมูลปริมาณน้ำฝนในอดีตโดยอาศัยเทคนิคทางสถิติ เพื่อพยากรณ์ปริมาณน้ำฝนในอนาคต สามารถใช้เป็นข้อมูลเพื่อการวางแผน ตัดสินใจ และกำหนดนโยบายในการส่งเสริมการเกษตร ซึ่งเป็นหนึ่งในหน้าที่หลักของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงเป็นเหตุผลสำคัญของการศึกษาวิจัยในเรื่องดังกล่าว โดยมีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการคือ ประการที่ 1 เพื่อเปรียบเทียบตัวแบบพยากรณ์จากการใช้เทคนิคการพยากรณ์สำหรับอนุกรมเวลาที่มีระดับค่าเฉลี่ยคงที่ วิธีแยกส่วนประกอบ วิธีการพยากรณ์ของวินเตอร์ และเทคนิคการวิเคราะห์อนุกรมเวลาบอกซ์-เจนกินส์ โดยพิจารณาจากค่าเฉลี่ยเปอร์เซนต์ความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์ (Mean Absolute Percent Error; MAPE) ที่ต่ำที่สุด โดยศึกษากับข้อมูลปริมาณน้ำฝนรายเดือนใน 19 จังหวัด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ จังหวัดเลย อุดรธานี หนองคาย หนองบัวลำภู สกลนคร นครพนม ชัยภูมิ ของแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อำนาจเจริญ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ และนครราชสีมา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529-2539 เพื่อพยากรณ์ปริมาณน้ำฝนในปี พ.ศ. 2540 ซึ่งนำมาใช้ในการพิจารณาเปรียบเทียบตัวแบบพยากรณ์ พบว่าวิธีแยกส่วนประกอบเป็นวิธีการที่เหมาะสมกับลักษณะข้อมูลปริมาณน้ำฝนมากที่สุด สำหรับทุกจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัตถุประสงค์ประการที่ 2 เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มพื้นผิว เมื่อมีข้อมูลปริมาณน้ำฝนที่ได้จากการจดบันทึกในปี พ.ศ. 2539 ซึ่งเลือกจากสถานีจากสถานีอุตุนิยมวิทยาจำนวน 93 สถานี จาก 300 สถานีใน 19 จังหวัด และตำแหน่งที่ตั้งเส้นรุ้ง เส้นแวงของสถานี เพื่อพยากรณ์ปริมาณน้ำฝนไปยังสถานีเป้าหมาย 10 สถานี เมื่อเปรียบเทียบค่าพยากรณ์จากการวิเคราะห์แนวโน้มพื้นผิว กับการพยากรณ์ด้วยค่าเฉลี่ยคงที่ วิธีแยกส่วนประกอบ การพยากรณ์ของวินเตอร์ และวิธีการบอกซ์-เจนกินส์ พบว่าการวิเคราะห์แนวโน้มพื้นผิว ให้ค่าพยากรณ์ปริมาณน้ำฝนใกล้เคียงกับปริมาณน้ำฝนจริงมากที่สุด | en |
dc.description.abstractalternative | Rainfall is an important factor for agricultural cultivation. Therefore, a study of past rainfall records using statistical techniques to forecast the rainfall will be essential for planning and setting policy in agricultural extension. This is one responsibility of the Center of Agricultural Economics, Ministry of Agriculture and Co-operatives. The aims of this project are as follows: I. To compare four methods of forecasting, namely: Constant Mean Model, Decomposition Method, Winters's Fore cast Method and Box-Jenkins Technique. Data used to fore cast the rainfall in 1997 are taken from the past rainfall records of 1986-1996 in the 19 provinces of Northeast Thailand: Loei, Udon Thani, Nong Khai, Nong Bua Lamphu, Sakon Nakhon, Nakhon Phanom, Chaiyaphum, Khon Kaen, Kalasin, Mukdahan, Mahasarakam, Roi Et, Yasothon, Amnat Charoen, Ubon Ratchathani, Sisaket, Surin, Buriram and Nakhon Ratchasima. Data which gives the lowest Mean Absolute Percent Error (MAPE) will represent the most suitable method. Results show that the Decomposition Method is the most suitable method for all provinces in Northeast Thailand. II. Trend Surface Analysis was conducted using 1996 rainfall records and the positions (latitude, Longitude) of 93 selected stations (out of a total of 300) in 19 provinces to predict the rainfall in 10 targeted stations. The forecasting values obtained from these 10 stations compare Trend Surface Analysis with the Constant Mean Model, Decomposition Method, Winters's Forecast Method and Box-Jenkins Technique. They show that the Trend Surface Analysis provides the most suitable forecasting data of all the methods. | en |
dc.format.extent | 781915 bytes | - |
dc.format.extent | 737887 bytes | - |
dc.format.extent | 912513 bytes | - |
dc.format.extent | 743362 bytes | - |
dc.format.extent | 1518012 bytes | - |
dc.format.extent | 720440 bytes | - |
dc.format.extent | 1169766 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | พยากรณ์แบบบอกซ์-เจนกินส์ | en |
dc.subject | การวิเคราะห์อนุกรมเวลา | en |
dc.subject | เทคนิคการปรับให้เรียบ | en |
dc.subject | น้ำฝน -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) | en |
dc.title | การพยากรณ์ปริมาณน้ำฝนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อวางแผนการเพาะปลูกพืช | en |
dc.title.alternative | Forecasting of rainfall for crop modelling plan in Northeast Thailand | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | สถิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สถิติ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | fcommva@acc.chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rusamee_Na_front.pdf | 763.59 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rusamee_Na_ch1.pdf | 720.59 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rusamee_Na_ch2.pdf | 891.13 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rusamee_Na_ch3.pdf | 725.94 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rusamee_Na_ch4.pdf | 1.48 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rusamee_Na_ch5.pdf | 703.55 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rusamee_Na_back.pdf | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.