Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12164
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิรากรณ์ คชเสนี | - |
dc.contributor.author | เพ็ญศรี ศรีกัญหา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2010-03-11T07:35:59Z | - |
dc.date.available | 2010-03-11T07:35:59Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746357379 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12164 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาโครงสร้าง องค์ประกอบ และแนวโน้มการทดแทนของสังคมพืช ในระบบนิเวศป่าผลัดใบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง พิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนของพันธุ์ไม้ ในกลุ่มไม้ยืนต้น ลูกไม้ และ กล้าไม้ในระบบนิเวศป่าเต็งรัง ระบบนิเวศป่าเบญจพรรณ และระบบนิเวศรอยต่อ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์คุณสมบัติโครงสร้างของระบบนิเวศ ทั้งทางกายภาพและทางชีวภาพ การวิเคราะห์ พบว่า ในระบบนิเวศป่าเต็งรัง มีพืชชนิดเด่นที่เป็นองค์ประกอบของโครงสร้าง ในกลุ่มไม้ยืนต้นลูกไม้และกล้าไม้เป็นชนิดเดียวกันคือ เต็ง (Shorea obtusa Wall.) และ รัง (Shorea siamensis Miq.) ขณะที่ในระบบนิเวศป่าเบญจพรรณพบพืชชนิดเด่นมากกว่า ได้แก่ หนามกาย (Terminalia nigrovenulosa Pierre ex Laness.) อินทรชิต (Lagerstroemia loudonii Teijsm. ex Binn.) ตะคร้อ (Schleichera oleosa Merr.) และ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana Pierre) แต่ดัชนีความสำคัญของพืชแต่ละชนิดจะมีค่าน้อยกว่าในระบบนิเวศป่าเต็งรัง ในระบบนิเวศรอยต่อแม้จะมีสัดส่วนของโครงสร้างเด่นที่เป็นองค์ประกอบเป็นชนิดเดียวกับที่พบในระบบนิเวศป่าเบญจพรรณค่อนข้างมากแต่ยังมี เต็ง กับ รัง ขึ้นปะปนอยู่และมีค่าดัชนีความสำคัญค่อนข้างสูง ดัชนีความหลากหลายของระบบนิเวศรอยต่อ ก็มีค่าใกล้เคียงกับของระบบนิเวศป่าเบญจพรรณมากกว่าของระบบนิเวศป่าเต็งรัง จากผลการวิเคราะห์ระบบนิเวศป่าผลัดใบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จึงเสนอว่าโครงสร้างของระบบนิเวศป่าผลัดใบ ที่จะเกิดจากการทดแทนของสังคมพืชในรุ่นต่อไป น่าจะมีลักษณะของโครงสร้างเด่นที่ปรากฎจะเป็นการผสมกัน ระหว่างพืชชนิดเด่นที่พบทั้งในระบบนิเวศป่าเต็งรัง และในระบบนิเวศป่าเบญจพรรณ | en |
dc.description.abstractalternative | Studies structure, compositions and successional trend of plant community by focusing on changing of species composition of tree, sapling and seedling in dry dipterocarp forest ecosystem, ecotonal ecosystem and mixed deciduous forest ecosystem in Huai Kha Khaeng wildlife sanctuary. The study used characteristic analysis for both physical structure and biological structure. The results show that in dry dipterocarp forest ecosystem Shorea obtusa Wall. and Shorea siamensis Miq. are the two dominant species in the structural composition in tree, sapling and seedling. In mixed deciduous forest ecosystem there are more and different dominants which are Terminalia nigrovernulosa Pierre ex Laness., Schleichera oleosa Merr., Lagerstroemia loudonii Teijsm. ex Binn., and Lagerstroemia duperreana Pierre. But the important value index of these dominant species are less than the dominants of dry dipterocarp forest ecosystem. In the ecotonal ecosystem.even though similarity of the dominant species is toward mixed deciduous forest ecosystem. But Shorea obtusa Wall. and Shorea siamensis Miq. are also presented with relatively high important value index. Species diversity index of the ecotonal ecosystem closes to mixed deciduous forest ecosystem. Therefore, these analyses suggest structure, compositions and successional trend of deciduous forest ecosystem in Huai Kha Khaeng wildlife sanctuary that the structure and compositions in the near future will be mixed between the dominant species of dry dipterocarp forest ecosystem and mixed deciduous forest ecosystem. | en |
dc.format.extent | 558807 bytes | - |
dc.format.extent | 440969 bytes | - |
dc.format.extent | 1542933 bytes | - |
dc.format.extent | 538452 bytes | - |
dc.format.extent | 1488395 bytes | - |
dc.format.extent | 493139 bytes | - |
dc.format.extent | 230948 bytes | - |
dc.format.extent | 1088647 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง | en |
dc.subject | การทดแทนทางนิเวศวิทยา | en |
dc.subject | ระบบนิเวศ -- ไทย -- ห้วยขาแข้ง | en |
dc.title | โครงสร้างองค์ประกอบและแนวโน้มการทดแทนของสังคมพืช ในระบบนิเวศป่าผลัดใบ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง | en |
dc.title.alternative | Structure, compositions and successional trend of plant community in deciduous forest ecosystem at Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuary | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สัตววิทยา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pensri_Sr_front.pdf | 545.71 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pensri_Sr_ch1.pdf | 430.63 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pensri_Sr_ch2.pdf | 1.51 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pensri_Sr_ch3.pdf | 525.83 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pensri_Sr_ch4.pdf | 1.45 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pensri_Sr_ch5.pdf | 481.58 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pensri_Sr_ch6.pdf | 225.54 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pensri_Sr_back.pdf | 1.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.