Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12319
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมเชาว์ เนตรประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | กัญญาทิพ พวงจำปา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2010-03-24T09:54:37Z | - |
dc.date.available | 2010-03-24T09:54:37Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9746394266 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12319 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้สื่อการเรียนกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาทางไกล ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาทางไกลสายสามัญระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอเมืองชลบุรี ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา และศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอบ้านค่าย ที่ศึกษาในปีการศึกษา 2539 จำนวน 412 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้สื่อการเรียนกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ ศึกษาชุดทดลอง 5-10 ชุดต่อสัปดาห์ และพบตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ ศึกษารายการโทรทัศน์การศึกษาที่บ้าน 2. การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบปกติ (Enter Metho) พบตัวแปรที่สามารถอธิบายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 10 ตัว คือ ศึกษาสื่อชุดวิชาเพื่อสรุปทบทวนบทเรียนและเพื่อเป็นข้อมูลในการพบกลุ่ม ศึกษาสื่อเทปเสียงเพื่อสรุปทบทวนบทเรียนและเป็นข้อมูลในการพบกลุ่ม ศึกษาสื่อรายการวิทยุที่บ้านตัวเอง ศึกษาสื่อรายการโทรทัศน์ การศึกษาร่วมกับญาติ ศึกษาสื่อรายการวิทยุร่วมกับสื่ออื่น ศึกษาสื่อรายการโทรทัศน์การศึกษาที่บ้านตัวเอง ศึกษาสื่อชุดทดลองวันอังคาร ศึกษาสื่อเทปเสียงก่อนนอนทุกคืน ศึกษาสื่อชุดทดลองน้อยกว่า 5 รายการ และศึกษาสื่อรายการวิทยุคนเดียว โดยตัวแปรทุกตัวสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ ร้อยละ 37 3. การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้น (Stepwise Method) พบตัวแปรที่สามารถอธิบายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 2 ตัว คือ ศึกษาสื่อรายการโทรทัศน์การศึกษาที่บ้านตัวเอง และศึกษาสื่อชุดทดลองน้อยกว่า 5 ชุดต่อสัปดาห์ โดยตัวแปรที่ได้รับการคัดเลือกสามารถอธิบายความแปรปรวนของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ร้อยละ 2 | en |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the relationships between instructional media utilization and learning achievement of distance education students at the lower secondary education level. The sample were 412 students of general education, lower secondary education of Muang Chonburi District Non-Formal Education Service Centres, Muang Chachoengsao District Non-Formal Education Service Centres and Bankai District Non-Formal Education Service Centres in the academic year of 1996. The results indicated that : 1. There was statistically significant positive relationship at .05 level between learning achievement and study of 5-10 experimental kits per week. There was statistically significant negative relationship at .05 level between learning achievement and study educational television program at home. 2. In multiple regression analysis (Enter method) at .05 level, there were 10 predictor variables together were able to account for 37% of the variance. The variables found were study media of each course for lesson review and for group meeting, study audio tape for lesson review and for group meeting, study educational radio program at home, study educational television program with relatives, study educational radio program and other media, study educational television program at home, study experimental kit on Tuesday, study audio tape every night, study experimental kits less than 5 kits, and study educational radio program alone. 3. In stepwise multiple regression analysis at .05 level, there were 2 predictor variables together were able to account for 2% of the variance. The variables found were study educational television program at home and study experimental kits less than 5 kits per week. | en |
dc.format.extent | 1302773 bytes | - |
dc.format.extent | 428783 bytes | - |
dc.format.extent | 1236402 bytes | - |
dc.format.extent | 356125 bytes | - |
dc.format.extent | 6853150 bytes | - |
dc.format.extent | 1552670 bytes | - |
dc.format.extent | 1003474 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การศึกษาทางไกล | en |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ | en |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | en |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้สื่อการเรียน กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาทางไกล ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก | en |
dc.title.alternative | The relationships between instructional media utilization and learning achievement of distance education students at the lower secondary education level in the Eastern Seaboard Area | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | โสตทัศนศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Somchaw.n@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kanyatip_Ph_front.pdf | 1.27 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanyatip_Ph_ch1.pdf | 418.73 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanyatip_Ph_ch2.pdf | 1.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanyatip_Ph_ch3.pdf | 347.78 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanyatip_Ph_ch4.pdf | 6.69 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanyatip_Ph_ch5.pdf | 1.52 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanyatip_Ph_back.pdf | 979.96 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.