Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1244
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมประสงค์ ศรีชัย-
dc.contributor.advisorสุพรรณ จินดาเวช-
dc.contributor.authorเชาว์ ไตรทิพย์ชาติสกุล, 2510--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-31T03:30:38Z-
dc.date.available2006-07-31T03:30:38Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741717008-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1244-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาวิสชวลเบสิค สำหรับใช้คำนวณความเร็ววิกฤตและความดันลดของระบบท่อขนถ่ายมลสาย (ของไหลสองวัฏภาคคือ ของเหลวและของแข็ง) ที่สภาวะอุณหภูมิและความเข้มข้นคงที่ มลสายที่ศึกษาเป็นประเภทที่ตกตะกอนได้ และขนถ่ายโดยระบบท่อในแนวระดับ การพัฒนาโปรแกรมได้เลือกโมเดลที่นำเสนอโดย Turian R.M. และ Oroskar A.R. (1980) Gillies R.G. และ Shook C.A. (1991) และ Zandi I. และ Govatos G. (1967) สำหรับทำนายความเร็ววิกฤตของมลสายที่ไหลในท่อขนาด 1/2-6 นิ้ว และ 8-20 นิ้ว และตั้งแต่ 22-24 นิ้ว ตามลำดับ สำหรับการคำนวณหาค่าความดันลดของมลสาย ได้เลือกโมเดลที่นำเสนอโดย Durand R. และ Condolios E. (1952) Newit D.M. (1956) และ Zandi I. และ Govatos G. (1967) ตามลำดับ นอกจากที่กล่าวมาแล้ว โปรแกรมยังสามารถช่วยคำนวณออกแบบระบบท่อขนถ่ายมลสายเชิงออปติมัม ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้คือ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อและความเข้มข้นของมลสายที่เหมาะสม ซึ่งโปรแกรมการคำนวณออกแบบเชิงออปติมัม จะคำนึงถึงอัตราการสูญเสียพลังงานในการขนถ่ายต่อหน่วย ที่น้อยที่สุดเป็นเงื่อนไขบังคับสำคัญ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาแล้วเสร็จ ได้ถูกนำมาทดสอบเปรียบเทียบกับข้อมูลอ้างอิง ที่ได้จากผลการทดลองของนักวิจัยคณะอื่นของมลสาย ภายใต้สภาวะอุณหภูมิและความเข้มข้นคงที่ พบว่าในท่อขนาด 1/2-12 นิ้ว โปรแกรมสามารถทำนายค่าความเร็ววิกฤตได้สอดคล้องกับ ข้อมูลอ้างอิงโดยมีค่าเบี่ยงเบนไปจากผลการทดลอง +-30% และในท่อขนาด 6-8 นิ้ว โปรแกรมสามารถทำนายค่าความดันลดได้ สอดคล้องกับข้อมูลอ้างอิง โดยมีค่าเบี่ยงเบนไปจากผลการทดลอง +-40%en
dc.description.abstractalternativeTo develop a computer program by using Visual Basic language for predicting critical velocity and pressure loss of setting slurry two-phase flow systems (solid-liquid) in isothermal cases of horizontal pipeline system. Slurry flow in pipe critical velocity program was developed by using models proposed by Turian R.M. and Oroskar A.R. (1980), Gillies R.G. and Shook C.A. (1991) and Zandi I. and Govatos G. (1967) for slurry flow in pipe size 1/2 to 6 inch, 8 to 20 inch and 22 to 24 inches respectively. For slurry two-phase flow pressure loss calculation was based on the studies of Durand R. and Condolios E. (1952), Newitt D.M. (1956) and Zandi I. and Govatos G. (1967) respectively. Furthermore, developed program can be used for slurry pipeline optimum design, using energy loss as an objective function. Program results were tested against experimental data of slurry flow in pipe from reference data from other researchers at constant temperature and concentration. The result of prediction of critical velocity inpipe size 1/2-12 inches are consistent with the experimental data at deviation of +-30% and the result of pressure loss calculation in pipe size 6-8 inches are within +-40% of experimental value.en
dc.format.extent5599802 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectท่อขนส่งสารละลายข้นen
dc.subjectของไหลen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมเพื่อคำนวณออกแบบระบบท่อสำหรับขนถ่ายมลสายen
dc.title.alternativeProgram development for slurry transmission pipeline designen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSomprasong.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chao.pdf4.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.