Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12513
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต-
dc.contributor.advisorพอจำ อรัณยกานนท์-
dc.contributor.authorนภาพร กิติมศักดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2010-04-09T07:24:06Z-
dc.date.available2010-04-09T07:24:06Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743318445-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12513-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์(วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en
dc.description.abstractได้ทำการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างตัวกรองชีวภาพแบบไบโอดรัม และแบบใต้น้ำ ซึ่งใช้ในระบบหมุนเวียนน้ำทะเลแบบปิดเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ในการทดลองเลี้ยงกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon) และปลากะพงขาว (Lates calcarifer) เป็นเวลา 3 เดือน ระบบบ่อทดลองประกอบด้วย 2 ส่วนคือ บ่อเลี้ยงทำด้วยคอนกรีตรูปทรงกลมที่มีปริมาตร 38 ลบ.ม. (เส้นผ่าศูนย์กลาง 7 เมตร ความลึกของน้ำ 1 เมตร) และบ่อบำบัดทำด้วยคอนกรีตรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า (2x4.6 เมตร) ในบ่อบำบัดของแต่ละชุดการทดลองมีตัวกรองชีวภาพต่างชนิดกัน คือ ตัวกรองชีวภาพแบบไบโอดรัมและตัวกรองชีวภาพแบบใต้น้ำ อัตราการหมุนเวียนของน้ำในระบบทดลองเท่ากับ 4 ครั้งต่อวันในการทดลองเลี้ยงกุ้งกุลาดำ พบว่าระบบตัวกรองชีวภาพทั้งสองแบบสามารถควบคุมคุณภาพน้ำคือ แอมโมเนียรวม, ไนไตรท์ และไนเตรท ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ แต่เนื่องจากในการทดลองครั้งนี้มวลชีวภาพของกุ้งกุลาดำมีปริมาณน้อยมากจึงไม่สามารถเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างระบบหมุนเวียนน้ำแบบปิดที่มีตัวกรองชีวภาพต่างกันได้ อัตรารอดของกุ้งกุลาดำทั้งสองชุดการทดลองครั้งนี้มีค่าเท่ากับ 6.25% และ 7.03% และมีอัตราการเติบโตร่างกาย 0.056 กรัม/วัน และ 0.051 กรัม/วัน ในชุดการทดลองแบบไบโอดรัมและใต้น้ำตามลำดับ ส่วนการทดลองเลี้ยงปลากะพงขาว พบว่าระบบตัวกรองชีวภาพทั้งสองแบบสามารถควบคุมคุณภาพน้ำคือ แอมโมเนียรวม, ไนไตรท์ และไนเตรท ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ อย่างไรก็ตามพบว่าในการทดลองเลี้ยงปลากะพงขาว ปริมาณแอมโมเนียรวม และไนไตรท์ในชุดการทดลองที่มีตัวกรองชีวภาพแบบใต้น้ำจะมีค่าสูงกว่าชุดการทดลองที่มีตัวกรองชีวภาพแบบไบโอดรัมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ซึ่งอัตรารอดของปลากะพงขาวเท่ากับ 58.42% และ 57.00% อัตราการเติบโตเท่ากับ 1.273 กรัม/วัน และ 1.228 กรัม/วัน ในชุดการทดลองแบบไอโอดรัมและแบบใต้น้ำตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeA study was conducted to compare the efficiency between the biodrum and the submerged biofilter used in the closed recirculating seawater system to culture the black tiger shrimp (Penaeus monodon) and seabass (Lates calcarifer) for 3 months. The recirculating system consisted of a circular rearing tank (7 diameter) with the operating capacity of 38 m3 (1 m depth) and a rectangular shaped concrete treatment tank with accommodated biofilter. Used seawater from rearing tank was treated in a separated biofilter tank. During operation, turn-over rate of the system was 4 times daily. During the culture of black tiger shrimp, both biofilters were able to regulated water quality parameters namely total ammonia, nitrite and nitrate to be within the normal ranges. Due to the low biomass of shrimp in this trial, it was unable compare the efficiency between two biofilters. The survival and growth rate of shrimp was 6.25%, 7.03% and 0.056 g/day, 0.051 g/day for biodrum and the submerged biofilter treatments, respectively. During the culture of sea bass, both biofilters were able to regulated water quality parameters namely total ammonia, nitrite and nitrate to be within the normal ranges. However, during total ammonia and nitrite of the submerge biofilter system were significantly higher (p<0.05) than those of the biodrum biofilter system. The survival and growth rate of seabass was 58.42%, 57.00% and 1.273 g/day, 1.228 g/day for biodrum and the submerged biofilter treatments, respectively.en
dc.format.extent557540 bytes-
dc.format.extent260219 bytes-
dc.format.extent1015518 bytes-
dc.format.extent390380 bytes-
dc.format.extent1166234 bytes-
dc.format.extent566912 bytes-
dc.format.extent206068 bytes-
dc.format.extent1311049 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคุณภาพน้ำen
dc.subjectตัวกรองชีวภาพen
dc.subjectกุ้งกุลาดำ -- การเลี้ยงen
dc.subjectปลากะพงขาว -- การเลี้ยงen
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพน้ำระหว่างระบบหมุนเวียนน้ำทะเลแบบปิดที่มี ตัวกรองชีวภาพแบบไอโอดรัมและแบบใต้น้ำเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำen
dc.title.alternativeComparative study of water quality between closed recirculating water systems with biodrum and submerge biofilter for aquacultureen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์ทางทะเลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPiamsak.M@Chula.ac.th-
dc.email.advisorPorcham.A@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Napaporn_Ki_front.pdf544.47 kBAdobe PDFView/Open
Napaporn_Ki_ch1.pdf254.12 kBAdobe PDFView/Open
Napaporn_Ki_ch2.pdf991.72 kBAdobe PDFView/Open
Napaporn_Ki_ch3.pdf381.23 kBAdobe PDFView/Open
Napaporn_Ki_ch4.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Napaporn_Ki_ch5.pdf553.62 kBAdobe PDFView/Open
Napaporn_Ki_ch6.pdf201.24 kBAdobe PDFView/Open
Napaporn_Ki_back.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.