Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12515
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorหรรษา ปุณณะพยัคฆ์-
dc.contributor.advisorมุกดา คูหิรัญ-
dc.contributor.authorเรือนแก้ว ประพฤติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2010-04-09T07:54:41Z-
dc.date.available2010-04-09T07:54:41Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743324844-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12515-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en
dc.description.abstractการฟอกเยื่อกระดาษด้วยวิธีการทางชีวภาพโดยเชื้อรา Phanerocheate chrysosporium และเชื้อรา Ganoderma ใน cidum โดยได้ศึกษาภาวะการฟอกเยื่อในอาหาร 2 สูตร คือ PDB ที่มี 0.5% กลูโคส และสูตร production ที่มี 0.4 mM veratyl alcohol และมีการเติมเยื่อยูคาลิปตัสที่ยังไม่ผ่านการฟอก 10 กรัม (น้ำหนักแห้ง) ซึ่งมีค่าคัปปนัมเบอร์เริ่มต้นเท่ากับ 17.47 และค่าความขาวสว่างเท่ากับ 36.85% ทำการศึกษาภาวะความเป็นกรด-ด่างที่เหมาะสมในอาหารทั้ง2 สูตร ที่ 5 ระดับ คือ 3.0 4.0 5.0 6.0 และ 7.0 ที่ภาวะอุณหภูมิ 25 ํC 30 ํC 35 ํC และ 40 ํC ตามลำดับ ในภาวะที่มีการเขย่า พบว่าเชื้อราทั้ง 2 ชนิด ต้องการภาวะเหมาะสมต่อการสร้างเอนไซม์และการฟอกเยื่อในอาหารสูตร production ได้ดีกว่าอาหารสูตร PDB 0.5% กลูโคส โดย P.chrysosporium มี pH เริ่มต้นที่เหมาะสมคือ 5.0 ที่อุณหภูมิ 40 ํC ให้ค่าแอคติวิตี้ของเอนไซม์ลิกนิน เปอร์ออกซิเดสเท่ากับ 0.274 U/ml ค่า Kppa number เท่ากับ 9.53 ค่า Brightness เท่ากับ 52.18% ใช้ระยะเวลาฟอกเยื่อนนาน 7 วัน G. lucidum มี pH เริ่มต้นที่เหมาะสมคือ 3.0 ที่อุณหภูมิ 25 ํC ค่าแอคติวิตี้เท่ากับ 0.080 U/ml ค่า Kappa number ท่ากับ 12.85 ค่า Brightness เท่ากับ 45.5% ระยะเวลาฟอกเยื่อ 11 วัน เนื่องจาก P. chrysospurium มีเอนไซม์แอคติวิตี้สูงจึงได้เลือกเชื้อนี้มาผลิต crude เอนไซม์ ในอาหารสูตร production ที่มีการเติมที่ยังไม่ผ่าการฟอก 10กรัม (น้ำหนักแห้ง) ที่ pH 5.0 อุณหภูมิ 40 ํC ในภาวะเขย่า ใช้ระยะเวลา 7 วัน นำส่วน supernatant มาปั่นเหวี่ยงที่ความเร็ว 5,000 รอบต่อนาที นาน 20 นาที อุณหภูมิ 4 ํC เพื่อแยกเอา crude เอนไซม์ออกมา นำ crude เอนไซม์ที่ได้มาทำการศึกษาภาวะความเป็นกรด-ด่างที่เหมาะสมต่อการฟอกเยื่อใน 0.5 mM โซเดียมซิเตรต บัฟเฟอร์ที่ pH 3.0 4.0 5.0 6.0 และ 7.0 ที่ภาวะอุณหภูมิ 25 ฺC 30 ฺC 35 ฺC และ 40 ํC ตามลำดับ โดยเติมเยื่อกระดาษที่ยังไม่ผ่านการฟอก 1 กรัม ต่อ crude เอนไซม์ 6.25 Units พบว่าภาวะที่เหมาะสมต่อการทำงานของเอนไซม์คือ pH 5.0 ที่อุณหภูมิ 40 ํC ให้ค่า Kappa number ของเยื่อเท่ากับ 9.36 ค่า Brightness เท่ากับ 50.91%en
dc.description.abstractalternativeThe biobleaching of a eucalyptus paper pulp with Phanerocheate chrysosporium and Ganoderma lucidum was investigated by using 2 type of media including the PDB with 0.5% glucose and the production medium with 0.4 mM veratyl alcohol. Ten grams of unbleahed eucalyptus pulp (Kappa number 17.47, brightness 36.85%) was added. The conditions tested were at pH 3.0, 4.0, 5.0, 6.0, 7.0 and at temperature 25 ํC, 30 ํC, 35 ํC, 40 ํC, under agitated conditions. Both fungi showed ability to bleach in the production medium. P. chrysosporium preferred initial pH of 5.0, 40 ํC giving 0.274 IU/ml lignin peroxidase, Kappa number 9.53 and Brightness 52.18% within 7 days. G.lucidum preferred pH of 3.0, 25 ํC, giving 0.080 IU/ml lignin peroxidase, Kappa number 12.85 and Brightness 45.54% within 11 days. P. chrysosporium was selected for the crude enzyme by preparation due to its high enzyme activity. The crude enzyme was prepared in the production medium at pH 5.0 with 10g unbleached eucalyptus pulps, and was incubated at 40 ํC 150 rpm for 7 days. The supernatant containing crude enzyme was separated from the pulp by centrifugation at 5,000 rpm for 20 minutes and 4 ํC. The bleaching of the pulp was investigated in the presence of 0.5 mM Sodium citrate buffer at pH 3.0, 4.0, 5.0, 6.0, 7.0 at 25 ํC, 30 ํC, 40 ํC, with 6.25 IU crude enzyme/1 g (OD) pulp. The data showed that the suitable conditions for biobleaching with the crude enzyme are at pH 5.0, 40 ํC giving Kappa number 9.36 and Brightness 50.91% of the eucalyptus pulp.en
dc.format.extent595836 bytes-
dc.format.extent1048651 bytes-
dc.format.extent515673 bytes-
dc.format.extent1901050 bytes-
dc.format.extent826867 bytes-
dc.format.extent1047420 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเยื่อกระดาษen
dc.subjectการฟอกเยื่อen
dc.subjectเชื้อราen
dc.subjectลิกนินen
dc.subjectเอนไซม์en
dc.titleการฟอกเยื่อกระดาษแบบชีวภาพโดย Phanerocheate chrysosporuim และ Ganoderma lucidumen
dc.title.alternativeBiobleaching of a paper pulp by Phanerocheate chrysosporuim and Ganoderma lucidumen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorHunsa.P@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Reankeaw_Pr_front.pdf581.87 kBAdobe PDFView/Open
Reankeaw_Pr_ch1.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Reankeaw_Pr_ch2.pdf503.59 kBAdobe PDFView/Open
Reankeaw_Pr_ch3.pdf1.86 MBAdobe PDFView/Open
Reankeaw_Pr_ch4.pdf807.49 kBAdobe PDFView/Open
Reankeaw_Pr_back.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.