Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12536
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorอัตถากรณ์ สิงห์น้อย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2010-04-20T06:24:31Z-
dc.date.available2010-04-20T06:24:31Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746375393-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12536-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่องการลดความบกพร่องของชิ้นส่วนและเวลาสูญเปล่าในสายการประกอบเครื่องยนต์รถจักรยานยนตร์ มีวัตถุประสงค์ในการใช้วิธีการทางวิศวกรรมอุตสาหการเป็นเครื่องมือในการดำเนินการ เช่น การศึกษาการทำงาน เป็นต้น ซึ่งจะทำการวิเคราะห์สาเหตุของความสูญเสียที่เกิดขึ้น โดยพิจารณาในด้านทรัพยากรการผลิตของโรงงานอันประกอบไปด้วย เครื่องจักรและอุปกรณ์ กำลังคน วัตถุดิบ วิธีการทำงานหรือการบริหารงาน แล้วกำจัดสาเหตุของความสูญเสียเหล่านั้น การดำเนินการลดความสูญเสียจากเวลาสูญเปล่าได้ใช้ประสิทธิภาพการผลิตและเวลาสูญเปล่าเป็นตัววัดผลการดำเนินการเปรียบเทียบ ก่อนการปรับปรุงและหลังการปรับปรุงพบว่า ประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้นจากเดิม 325 เครื่อง/วัน/สายการผลิต เป็น 402 เครื่อง/วัน/สายการผลิต ซึ่งเพิ่มขึ้น 23.69% สำหรับเวลาสูญเปล่าจาก Stop time ได้ลดลงจาก 22.89% ของเวลาการทำงานทั้งหมด เป็น 12.51% คิดเป็น 45.35% และเวลาสูญเปล่าจาก Down time ลดลงจาก 9.54% ของเวลาทำงานทั้งหมดเป็น 7.19% คิดเป็น 24.63% สำหรับชิ้นส่วนบกพร่องได้ลดลง คิดเป็น 50.82%en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis is to use industrial engineering technique such as work study as a tool for solving a problem. The causes of losses were analysed by taking all the resources involved in production into consideration. The resources comprise machine, equipment, labour, raw material, working procedure and management. Subsequently, those caused were eliminated. Efficiency and idle time have also been used to evaluate the effectiveness for reduction of idle time. Those results between before and after improvement have been compared. Increasing of efficiency by 23.69% from 325 units/day/line to 402 units/day/line have been found. According to the idle time, "stop time" has been reduced by 45.35% from 22.89% to 12.51% and "down time" has been reduced by 24.63% from 9.54% to 7.19%. Defective parts has been reduced by 50.82%.en
dc.format.extent574641 bytes-
dc.format.extent325222 bytes-
dc.format.extent551563 bytes-
dc.format.extent2090669 bytes-
dc.format.extent2047694 bytes-
dc.format.extent1114459 bytes-
dc.format.extent366392 bytes-
dc.format.extent1629664 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectจักรยานยนต์ -- เครื่องยนต์ -- ข้อบกพร่องen
dc.subjectอุตสาหกรรมจักรยานยนต์en
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่าen
dc.titleการลดความบกพร่องของชิ้นส่วนและเวลาสูญเปล่า ในสายการประกอบเครื่องยนต์รถจักรยานยนต์en
dc.title.alternativeDefective part and idle time reduction in the motorcycle engine assembly lineen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuthas.R@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Auttagorn_Si_front.pdf561.17 kBAdobe PDFView/Open
Auttagorn_Si_ch1.pdf317.6 kBAdobe PDFView/Open
Auttagorn_Si_ch2.pdf538.64 kBAdobe PDFView/Open
Auttagorn_Si_ch3.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open
Auttagorn_Si_ch4.pdf2 MBAdobe PDFView/Open
Auttagorn_Si_ch5.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
Auttagorn_Si_ch6.pdf357.8 kBAdobe PDFView/Open
Auttagorn_Si_back.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.