Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12674
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุมิตรา อังวัฒนกุล-
dc.contributor.authorรจนา คำนึงผล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-05-31T03:54:05Z-
dc.date.available2010-05-31T03:54:05Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743349375-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12674-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างก่อนและหลังได้รับการสอน โดยใช้วิธีการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง และเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอนโดยวิธีการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง กับกลุ่มที่ได้รับการสอนโดยวิธีปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ จำนวน 2 กลุ่มๆ ละ 40 คน โดยนักเรียนกลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มทดลอง ได้รับการสอนโดยใช้วิธีการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง และอีกกลุ่มหนึ่งได้รับการสอนโดยวิธีปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองสอน ได้แก่ แผนการสอนการเขียนความเรียงภาษาไทยจำนวน 16 แผน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบการเขียนความเรียงภาษาไทย และเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินการเขียนความเรียงภาษาไทย ผู้วิจัยดำเนินการสอนทั้ง 2 กลุ่ม ใช้เวลาสอนกลุ่มละ 2 คาบต่อสัปดาห์เป็นเวลา 8 สัปดาห์ หลังจากนั้นได้ทดสอบความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทย หลังการทดลองสอน แล้ววิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.ความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนโดยใช้วิธีการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง หลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ 76.675 2. ความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนโดยใช้วิธีการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนตามวิธีปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทยในองค์ประกอบด้านเนื้อหา การเรียบเรียงความคิด การใช้ถ้อยคำ การใช้ไวยากรณ์ กลไกทางภาษา สูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยวิธีปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeTo compare the Thai language expository writing ability of mathayom suksa five students before and after teaching by using self directed learning approach, and to compare the Thai language expository writing ability of mathayom suksa five students taught by Self directed learning approach and that taught according to teacher's manual. The subjects were two groups of mathayom suksa five students of Chaiyaphumphucdeechumphol School, Maung District, Chaiyaphum Province. There were 40 students in each group. The first group was the experimental group taught by using self directed learning approach and the second one was the controlled group taught according to teacher's manual. The instruments for experiment were 16 daily lesson plans. The instruments for collecting the data were Thai language expository writing ability test and the criteria for evaluating Thai language expository writing. Both groups were taught 2 periods a week for 8 weeks by the researcher. Thai language expository writing ability test was administered to the subjects after the experiment. The results were analyzed by means of arithmetic mean, standard deviation (S.D.) and t-test. The results of the study were as follows: 1. The Thai language expository writing ability of mathayom suksa five students taught by self directed learning approach after learning was higher than that before learning at the .05 level of the significance with mean score of 76.675 percent. 2. The Thai language expository writing ability of mathayom suksa five students taught by self directed learning approach was higher than taugt according to teacher's manual at the .05 level of significance. Their ability in Thai language expository writing in the aspects of content, organization, vocabulary, language use, and mechanics were higher than those taught according to teacher's manual at the .05 level of significance.en
dc.format.extent804558 bytes-
dc.format.extent885897 bytes-
dc.format.extent1605207 bytes-
dc.format.extent826306 bytes-
dc.format.extent740703 bytes-
dc.format.extent805263 bytes-
dc.format.extent10826412 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.408-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองen
dc.subjectความเรียงen
dc.titleผลของการสอนโดยใช้วิธีการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง ที่มีต่อความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5en
dc.title.alternativeEffects of teaching by using self directed learning approach on Thai language expository writing ability of mathayom suksa five studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสอนภาษาไทยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSumitra.A@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.408-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rodchana_Ku_front.pdf785.7 kBAdobe PDFView/Open
Rodchana_Ku_ch1.pdf865.13 kBAdobe PDFView/Open
Rodchana_Ku_ch2.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open
Rodchana_Ku_ch3.pdf806.94 kBAdobe PDFView/Open
Rodchana_Ku_ch4.pdf723.34 kBAdobe PDFView/Open
Rodchana_Ku_ch5.pdf786.39 kBAdobe PDFView/Open
Rodchana_Ku_back.pdf10.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.