Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12710
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรศิริ หมื่นไชยศรี-
dc.contributor.authorสายพิณ ทวีศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-06-01T01:00:47Z-
dc.date.available2010-06-01T01:00:47Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12710-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractกล่าวถึงการสร้างการติดตามความต้องการโดยใช้การคำนวณพจน์ความคล้ายกัน ซึ่งเป็นการสนับสนุนการติดตามความต้องการหรือการติดตามความต้องการหรือการติดตามความสัมพันธ์ ระหว่างชิ้นส่วนของซอฟต์แวร์ในระยะของการวิเคราะห์ความต้องการ และการออกแบบซอฟต์แวร์โดยอัตโนมัติ เพื่อประโยชน์ในการดูแลจัดการความต้องการหรือการประเมินผลกระบทที่อาจเกิดขึ้น เมื่อการเปลี่ยนหรือเพิ่มเติมความต้องการ อันจะทำให้สามารถลดค่าใช้จ่ายและเวลาในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ งานวิจัยนี้ได้ออกแบบขั้นตอนและกฎในการสร้างความสัมพันธ์สำหรับการติดตามความต้องการกับชิ้นส่วนต่างๆ ของซอฟต์แวร์ โดยเลือกใช้เทคนิคการติดตาม 2 แบบคือ การพิจารณาจากเส้นความสัมพันธ์โดยตรงหรือการพิจารณาเชิงโครงสร้างที่อาศัยเส้นความสัมพันธ์ที่ปรากฏจริงในแผนภาพ และพิจารณาความสัมพันธ์จากชื่อที่ปรากฏในแต่ละแผนภาพ ซึ่งต้องอาศัยเทคนิคการค้นคืนเพื่อคำนวณหาค่าความคล้ายกันสำหรับการสร้างการติดตามความต้องการ ในงานวิจัยใช้เทคนิคเวคเตอร์สเปชโมเดล โดยแบ่งพิจารณาการติดตามความสัมพันธ์เป็น 2 ระดับ คือการติดตามความสัมพันธ์ระดับชิ้นส่วน และการติดตามความสัมพันธ์ระดับโมเดล จากนั้นพัฒนาเครื่องมือเพื่อสนับสนุนขั้นตอนและกฎการสร้างการติดตามความต้องการดังกล่าว เป็นเว็บแอพลิเคชันด้วยเทคโนโลยีเอเอสพีดอทเน็ท ในงานวิจัยได้ทดสอบเครื่องมือกับกรณีศึกษา 2 กรณี พบว่าเครื่องมือสามารถแสดงความสัมพันธ์สำหรับการติดตามได้ถูกต้องทั้ง 2 กรณีศึกษาคิดเป็น 100% และทดสอบการค้นคืนด้วยคำสำคัญของความต้องการ เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างคำสำคัญของความต้องการกับชิ้นส่วนต่างๆ ของซอฟต์แวร์ พบว่าเครื่องมือสามารถค้นคืนได้ถูกต้องทั้ง 2 กรณีศึกษา นอกจากนี้ได้วัดประสิทธิภาพของเครื่องมือจากค่าระลึกและค่าความแม่นยำได้ค่าเท่ากับ 1 คิดเป็น 100%en
dc.description.abstractalternativeTo describe an establishment of requirements traceability using terms similarity computation which promotes the automatic of traceability inks between artifacts in software requirement analysis phase and software design phase to support change impact analysis. As a result, it significantly reduces time and cost in the software development process. In this research, steps and rues for the traceability are designed by selected 2 traceability techniques. One is considered from the relationship between artifacts that occurs on graphical model. Another is considered from the relationship of name in each graphical model which needs to use information retrieval techniques to calculate model technique that separates relationship into 2 levels; artifact level and model level The web application which includes procedures and relation rules is also implemented using ASP.NET and has been tested by 2 case studies. The result shows that the application expresses relationship for the related traceability with 100% accuracy in both case studies. In addition, the has been tested to retrieve relationships between requirements keywords and software artifacts. The results are correct in both case studies. Moreover the application efficiency is evaluated by using the recall value and the precision value. Both values are 1 which means 100% accuracy.en
dc.format.extent3810968 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวิศวกรรมซอฟต์แวร์ -- การจัดการen
dc.subjectซอฟต์แวร์ -- การพัฒนาen
dc.titleการสร้างการติดตามความต้องการโดยใช้การคำนวณพจน์ความคล้ายกันen
dc.title.alternativeEstablishment of requirements traceability using term similarity computationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPornsiri.m@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sayphin.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.