Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12836
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิสุทธิ์ ช่อวิเชียร-
dc.contributor.advisorธนิต ธงทอง-
dc.contributor.authorวัชระ เพียรสุภาพ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2010-06-11T09:30:53Z-
dc.date.available2010-06-11T09:30:53Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746371517-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12836-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractวิเคราะห์ความเหมาะสมของโมเดลสำหรับการตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องต้น ของผู้ดำเนินงานก่อสร้าง ซึ่งมีคุณสมบัติที่ต้องการคือ การปลอดพ้นจากความเอนเอียงของผู้ประเมิน และความสามารถในการสะท้อนศักยภาพของผู้ดำเนินงานก่อสร้าง โดยดำเนินการวิจัยตามขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษาโมเดลที่ใช้ในการคัดเลือกผู้ดำเนินงานก่อสร้าง ผู้มีคุณภาพเบื้องต้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ 2. ศึกษาปัจจัยที่ใช้ในการคัดเลือกผู้ดำเนินงานก่อสร้าง 3. เก็บข้อมูลของปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับมูลค่างานก่อสร้าง และช่วงชั้นของผู้ดำเนินงานก่อสร้าง จากผู้ดำเนินงานก่อสร้าง ผู้ควบคุมงาน และเจ้าของโครงการมาจำลองโมเดล 4. วิเคราะห์โมเดลในปัจจัยอันได้แก่ สมการที่เป็นตัวแทนของข้อมูล ค่าความแปรปรวนของโมเดล ความสะดวกในการใช้งาน และค่าความถูกต้องในการคัดเลือก 5. วิเคราะห์โมเดลที่นำมาประยุกต์ใช้กับการคัดเลือกผู้ดำเนินงานก่อสร้างกลุ่มงานอาคาร และงานวิศวกรรมโยธา 6. สรุปความเหมาะสมของโมเดลต่างๆ ในการนำไปประยุกต์ใช้ในการคัดเลือกผู้ดำเนินงานก่อสร้าง ผู้มีคุณสมบัติเบื้องต้น จากผลการวิจัยพบว่าโมเดลเบื้องต้นที่มีความเหมาะสม ในการนำประยุกต์ใช้คัดเลือกผู้ดำเนินงานก่อสร้างได้แก่ Linear Model, Multiattribute Utility Model, Linear Regression Model และ Fuzzy Set Model ในแต่ละโมเดลได้วิเคราะห์ถึงความเหมาะสม ในการนำมาประยุกต์ใช้คัดเลือก โดยวิเคราะห์ในปัจจัยอันได้แก่ สมการที่เป็นตัวแทนของข้อมูล ค่าความแปรปรวนของโมเดล ความสะดวกในการใช้งาน และค่าความถูกต้องในการคัดเลือก ผลการวิเคราะห์พบว่า Linear Model และ Multiattribute Utility Model มีความเหมาะสมในการคัดเลือกผู้ดำเนินงานก่อสร้างในเบื้องต้น และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ ในการแบ่งช่วงชั้นผู้ดำเนินงานก่อสร้างได้ใกล้เคียง ส่วน Fuzzy Set Model มีความเหมาะสมในการเปรียบเทียบผู้ดำเนินงานก่อสร้าง ที่มีข้อด้อยน้อยที่สุด ส่วน Linear Regression Model นั้นไม่มีความเหมาะสมในการแบ่งช่วงชั้นผู้ดำเนินงานก่อสร้าง เนื่องจากสัมประสิทธิ์ของสมการที่ได้ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง นอกจากนี้โมเดลที่เหมาะสมในการใช้งาน ยังต้องอาศัยข้อมูลที่ถูกต้องและสอดคล้องกับลักษณะของหน่วยงาน ที่ดำเนินการคัดเลือกผู้ดำเนินงานก่อสร้างนั้นen
dc.description.abstractalternativeTo analyse the suitability of models to be used for contractor prequalification, the desired characteristics of which include the avoidance of the evaluators' bias and the ability to reflect the contrators' success potential. The steps in the research consist of : a) studying existing prequalification models, domestic and international, b) studying factors which were used for contrator prequalification c) surveying of data of factors that have correlation with construction values and contractors' classification, from building as well as civil contractors, consultants and owners d) analyse the models in four aspects : data representation, model sensitivity, convenience of application and selection accuracy, e) analyse models that were applied for contractor classification, building and civil, f) conclusive remark on the suitability of each models for contractor prequalification. It was found that the models which meet basic requirements include Linear Model, Multiattribute Utility Model, Linear Regression Model and Fuzzy Set Model. Each model was analyzed in four aspects: data representation, model sensitivity, convenience of application and selection accuracy. It was found that Linear Model and Multiattribute Utility Model are suitable for contractor prequalification and contractor classification. The Fuzzy Set Model can be used for comparing the contractors with less weak points. The Linear Regression Model is not appropriate for contractor prequlification due to the coefficient of this function not being compatible with reality. The models which are appropriate for use need data that are correct and correspond with the characteristics of prequalification organization.en
dc.format.extent479360 bytes-
dc.format.extent232427 bytes-
dc.format.extent800128 bytes-
dc.format.extent956010 bytes-
dc.format.extent269060 bytes-
dc.format.extent879754 bytes-
dc.format.extent612089 bytes-
dc.format.extent230481 bytes-
dc.format.extent4067021 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectบริษัทก่อสร้างen
dc.subjectการก่อสร้างen
dc.subjectอุตสาหกรรมการก่อสร้างen
dc.titleความเหมาะสมของโมเดลสำหรับการตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องต้น ของผู้ดำเนินงานก่อสร้างen
dc.title.alternativeThe suitability of models for contractor prequalificationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVisuth.C@Chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vachara_Pe_front.pdf468.12 kBAdobe PDFView/Open
Vachara_Pe_ch1.pdf226.98 kBAdobe PDFView/Open
Vachara_Pe_ch2.pdf781.38 kBAdobe PDFView/Open
Vachara_Pe_ch3.pdf933.6 kBAdobe PDFView/Open
Vachara_Pe_ch4.pdf262.75 kBAdobe PDFView/Open
Vachara_Pe_ch5.pdf859.13 kBAdobe PDFView/Open
Vachara_Pe_ch6.pdf597.74 kBAdobe PDFView/Open
Vachara_Pe_ch7.pdf225.08 kBAdobe PDFView/Open
Vachara_Pe_back.pdf3.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.