Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12924
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุกัญญา ประจุศิลป-
dc.contributor.advisorสุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล-
dc.contributor.advisorยุพา อ่อนท้วม-
dc.contributor.authorนริศา อาจอ่อนศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2010-06-17T11:37:46Z-
dc.date.available2010-06-17T11:37:46Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741421834-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12924-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractศึกษาผลของโปรแกรมเพศศึกษาต่อการป้องกันตนเองจากการกระทำผิดทางเพศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 รูปแบบการวิจัยเป็นแบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่งในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวนสองโรงเรียนซึ่งเป็นโรงเรียนชายล้วนเขตกรุงเทพมหานคร แบ่งเป็นกลุ่มทดลองหนึ่งโรงเรียนและกลุ่มควบคุมหนึ่งโรงเรียน โรงเรียนละ 38 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการป้องกันตนเองจากการกระทำผิดทางเพศ 4 กิจกรรม กิจกรรมละ 50 นาที ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมการเรียนรู้กฎหมายเกี่ยวกับความผิดทางเพศ การหาทางออกจากสถานการณ์ที่ไม่ปลอดภัย ทักษะการปฏิเสธ การฝึกการเป็นสุภาพบุรุษ และการดูวิดีทัศน์เกี่ยวกับอนาคตของผู้กระทำผิด ส่วนโรงเรียนที่เป็นกลุ่มควบคุมได้รับความรู้เรื่องเพศตามปกติ การวัดผลวิจัยใช้แบบสอบถามวัดความรู้ เจตคติและพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการกระทำผิดทางเพศ ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับโปรแกรมการป้องกันตนเองจากการกระทำผิดทางเพศมีความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการกระทำผิดทางเพศ ภายหลังการทดลอง สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในกลุ่มทดลองและกลุ่มหลังได้รับโปรแกรมการป้องกันตนเองจากการกระทำผิดทางเพศ มีความรู้และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการกระทำผิดทางเพศสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางด้านเจตคติen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this quasi-experimental research was evaluated the effect of sex education programs on self defence from sex violence. Two Mathayom suksa 3 male schools in Bangkok were random in the experimental group and control group respectively with 38 students/group. The experimental group got sex education program for 4 times. Each time was 50 minute. The control groups have no intervention. Measurement of the results: knowledge, attitudes and behavior on self defence from sex violence were answered by self report questionnaires received. The results of the study were 1. The experimental show that there were statistical significant difference between before and after got sex education programs on self defence from sex violence of the male student at p<.01. But on control group no significant difference (p>.05) 2. After sex education programs. There were statistical significant difference between experimental group and control group in knowledge and behavior at p<.05. But no significant difference in attitudes.en
dc.format.extent1322666 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวัยรุ่นen
dc.subjectเพศศึกษาen
dc.subjectการป้องกันตัวen
dc.subjectอาชญากรรมทางเพศen
dc.titleผลของโปรแกรมเพศศึกษาต่อการป้องกันตนเองจากการกระทำผิดทางเพศ ของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3en
dc.title.alternativeEffect of sex education program on self defence from sex violence of male students in mathayom suksa 3en
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเพศศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSukunya.S@chula.ac.th-
dc.email.advisorSurasak.T@chula.ac.th-
dc.email.advisorYupha.O@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Narisa_aj.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.