Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12959
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสีรง ปรีชานนท์-
dc.contributor.authorอิสรา รุ่งนพคุณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2010-06-22T07:30:03Z-
dc.date.available2010-06-22T07:30:03Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741421524-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12959-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractปรับปรุงวิธีการวางแผนการผลิต โดยเฉพาะการจัดลำดับการผลิตประจำสัปดาห์ของโรงงานผลิตเคมีภัณฑ์แห่งหนึ่ง ในปัจจุบันการจัดลำดับการผลิตของโรงงานจะดำเนินการโดยอาศัยความชำนาญของพนักงาน ซึ่งก่อให้เกิดระยะเวลารอคอยในกระบวนการมาก และในบางครั้งก็ก่อให้เกิดความผิดพลาดในการจัดลำดับการผลิต ทำให้เกิดความเสียหายคิดเป็นจำนวนเงินที่สูง ในการนี้ผู้วิจัยเลือกที่จะสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อช่วยตัดสินใจในการจัดลำดับการผลิต แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่สร้างขึ้นนั้นคำนึงถึงเงื่อนไขจริงของกระบวนการผลิต โดยมุ่งลดเวลารอคอยในกระบวนการผลิตให้น้อยที่สุด แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่นำเสนอมีองค์ประกอบ 4 ส่วน คือ 1) ข้อมูลนำเข้า (input data) เช่น ข้อมูลที่เกี่ยวกับเวลาที่ใช้ในการผลิตแต่ละขั้นตอนของแต่ละผลิตภัณฑ์ 2) ฟังก์ชั่นจุดประสงค์ (objective function) ซึ่งมุ่งลดเวลาการผลิตรวม 3) เงื่อนไขบังคับ (constraints) เช่น เงื่อนไขของลำดับการผลิตของผลิตภัณฑ์ต่างๆ และ 4) ตัวแปรตัดสินใจ (decision variables) เช่น ตัวแปรระบุลำดับของงานในกระบวนการผลิต ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า การจัดลำดับการผลิตโดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทั้งหมด โดยสามารถลดเวลาโดยรวมของการผลิตในแต่ละสัปดาห์ สามารถลดเวลาสูญเสียเนื่องจากการรอคอยในกระบวนการผลิต สามารถขจัดความผิดพลาดของการจัดลำดับการผลิตโดยพนักงาน และยังสามารถลดเวลานำในการออกแผนลำดับการผลิตได้อย่างมีนัยสำคัญen
dc.description.abstractalternativeTo improve production planning especially weekly production scheduling of a chemical factory. Currently, weekly production schedule is prepared based solely on scheduler's experience, which causes long waiting time and production waste due to inappropriate product sequence. This research uses the optimization technique to help the scheduler preparing weekly production schedule. Mathematical models for this specific factory were developed. These mathematical models comprise of four components 1) Input data : e.g. the processing time at each stage of each product, 2) Objective function : to minimize the production makespan, 3) Constraints : e.g. the product contamination and cleaning schedules, and 4) Decision variables : e.g. ranking variables in production schedule. The study has found that the weekly production schedule from the mathematical models can help reduce waiting time, eliminate off-grade products due to scheduler's error, and significantly reduce the scheduling lead time.en
dc.format.extent3887003 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์en
dc.subjectการวางแผนการผลิตen
dc.subjectการกำหนดงานการผลิตen
dc.titleการปรับปรุงวิธีการวางแผนการผลิตเพื่อลดเวลาในการผลิตen
dc.title.alternativeImproving production planning method to reduce production lead timeen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSeeroong.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
isra_ru.pdf3.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.