Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/129
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุติมา ไตรรัตน์วรกุล-
dc.contributor.authorอารีรัตน์ คูถิรตระการ, 2515--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-05-29T05:19:25Z-
dc.date.available2006-05-29T05:19:25Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741760612-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/129-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบอัตราความสำเร็จของการรักษาประสาทฟันน้ำนมโดยวิธีแคลเซียม ไฮดรอกไซด์ พาร์เชียล พัลโพโตมี กับการรักษาประสาทฟันน้ำนมด้วยวิธีฟอร์โมครีซอล พัลโพโตมี ในฟันกรามน้ำนมล่าง ศึกษาทางคลินิกที่ 6 เดือน และ 12 เดือน โดยทำการคัดเลือกตัวอย่างฟันกรามน้ำนมล่างที่มีลักษณะตรงตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ จำนวน 63 ซี่ฟัน จากจำนวนผู้ป่วย 40 คน จัดตัวอย่างแบบสุ่มเข้าสู่การรักษาแต่ละวิธี ประเมินความสำเร็จทางคลินิกและภาพถ่ายรังสีที่ 6 เดือน และ 12 เดือนหลังการรักษา โดยทันตแพทย์สำหรับเด็กผู้ประเมินไม่ทราบว่าตัวอย่างใดได้รับการรักษาด้วยวิธีใด สำหรับการประเมินทางภาพถ่ายรังสี ตัวอย่างจะถูกประเมินแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มประสบความสำเร็จ กลุ่มที่จะติดตามผลการรักษาต่อไปและกลุ่มประสบความล้มเหลว เมื่อสิ้นสุดการศึกษา คงเหลือจำนวนตัวอย่าง 63 ซึ่ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผลการรักษากับชนิดของการรักษาด้วยสถิติ ไคสแควร์เทสต์ (Chi-square test) ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ที่ระยะเวลา 6 เดือน สามารถติดตามผลการรักษาจากตัวอย่างได้ครบทุกซี่ผลการประเมินทางคลินิกไม่พบว่ามีตัวอย่างใดมีลักษณะความล้มเหลวตามเกณฑ์ที่วางไว้ การรักษาด้วยวิธีพาร์เชียลพัลโพโตมี มีอัตราความสำเร็จร้อยละ 96.87 สูงกว่าอัตราความสำเร็จของการรักษาด้วยวิธีฟอร์โมครีซอล พัลโพโตมี ซึ่งมีอัตราความสำเร็จร้อยละ 90.32 โดยในกลุ่มฟอร์โมครีซอล พบตัวอย่างที่จัดอยู่ในกลุ่มติดตามผลการรักษาต่อไปร้อยละ 9.68 ตัวอย่างเดียวที่ล้มเหลวพบพยาธิสภาพบริเวณปลายรากฟันในกลุ่มพาร์เชียล พัลโพโตมี ที่ระยะเวลา 12 เดือน อัตราความสำเร็จของการรักษาด้วยวิธีพาร์เชียล พัลโพโตมีอยู่ที่ร้อยละ 96.77 และวิธีฟอร์โมครีซอลพัลโพโตมี ร้อยละ 90.32 ความล้มเหลวอีก 1 ตัวอย่างที่พบนอกเหนือจากที่ 6 เดือน ได้แก่การละลายตัวภายในคลองรากฟันที่มีการลุกลามมากขึ้นในกลุ่มฟอร์โมครีซอล พัลโพโตมี โดยไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสำหรับการรักษาทั้ง 2 วิธี (p = 0.7, p = 0.7)en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this clinical study was to compare the 6 and 12 months success of calcium hydroxide partial pulpotomy and formocresol pulpotomy 63 lower primary which condition filled to set criteria from 40 child patients were randomly assigned into each treatment. Double blined clinical and radiographic evaluations with not less than 80% agreement were performed at 6 and 12 months after treatment. The 3 categories for radiographic assessment were success, follow-up or failure group. Chi-square test at p value of 0.05 was used to analyze the correlation between the two treatments. At 6 months, all teeh was available for evaluation, no tooth was assessed as failure on clinical criteria. The success rate was 96.87% and 90.32% for calcium hydroxide partial pulpotomy and formocresol pulpotomy respectively. The follow-up category of 9.68% was formed in formocresol group while one failure with periapical pathology was observed in calcium hydroxide partial pulpotomy group. At 12 months, one sample was missing, the success rate of calcium hydroxide partial pulpotomy was 96.77% while 90.32% was formed in the formocresol pulpotomy group in which failure was one tooth with advanced internal resorption. However, the success between the two groups was not statistically significant (p = 0.7m and p=0.7)en
dc.format.extent51442915 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.1491-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectฟันผุen
dc.subjectฟันน้ำนมen
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบความสำเร็จของการรักษาประสาทฟันน้ำนมโดยวิธีแคลเซียมไฮดรอกไซด์ พาร์เชียล พัลโพโตมี กับการรักษาด้วยวิธีฟอร์โมครีซอล พัลโพโตมีในฟันกรามน้ำนมล่าง : ศึกษาทางคลินิกที่ 6 เดือน และ 12 เดือนen
dc.title.alternativeComparison of success rate between calcium hydroxide partial pulpotomy and formocresol pulpotomy in lower primary molar : a clinical study at 6 and 12 monthsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineทันตกรรมสำหรับเด็กen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorctrairat@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.1491-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Areerat.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.