Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13058
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุษยรัตน์ สันติวงศ์-
dc.contributor.authorณัฐฐา ไร่ทิม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-07-20T04:43:30Z-
dc.date.available2010-07-20T04:43:30Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13058-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ : ศึกษาผลของวัสดุเคลือบหลุมร่องฟันกลาสไอโอโนเมอร์ต่อปริมาณฟลูออไรด์และระดับปริมาณเชื้อมิวแทนส์ สเตรปโตคอคไค ในคราบจุลินทรีย์ ในฟันกรามแท้ที่ขึ้นใหม่ วัสดุและวิธีการ : กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้คือ เด็กอายุ 10-13 ปี ที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดฟันผุจำนวน 45 คน ที่มีฟันกรามแท้ซี่ที่สองขึ้นสู่ช่องปากเพียงบางส่วน และได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันด้วยกลาสไอโอโนเมอร์ เก็บตัวอย่างคราบจุลินทรีย์ในช่วงเวลาก่อนและหลังการเคลือบหลุมร่องฟัน 7, 14 และ 28 วัน วัดปริมาณฟลูออไรด์และระดับเชื้อมิวแทนส์ สเตรปโตคอคไค ด้วยวิธีโมดิฟายด์ ไมโครดิฟฟิวชันและชุดตรวจสำเร็จรูปข้างเก้าอี้ตามลำดับ ผลการศึกษา : ปริมาณฟลูออไรด์ในคราบจุลินทรีย์เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.0001) และมีการลดลงของระดับปริมาณเชื้อมิวแทนส์ สเตรปโตคอคไค อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.0001) หลังจากเคลือบหลุมร่องฟันด้วยกลาสไอโอโนเมอร์ 7 วัน อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมีค่าลดลงอย่างต่อเนื่องเมื่อระยะเวลาผ่านไป สรุป : จากการศึกษาในครั้งนี้สรุปได้ว่า การเคลือบหลุมร่องฟันในฟันกรามแท้ซี่ที่สองที่ขึ้นสู่ช่องปากเพียงบางส่วนด้วยกลาสไอโอโนเมอร์ ทำให้มีการแปลี่ยนแปลงของปริมาณฟลูออไรด์ในคราบจุลินทรีย์ และระดับปริมาณเชื้อมิวแทนส์ สเตรปโตคอคไค อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติแต่อยู่ในช่วงเวลาไม่นานen
dc.description.abstractalternativeObjectives : To determine whether application of glasss ionomer sealant could effect the fluoride and mutans streptococci levels in dental plaque of newly erupted permanent molar. Methodology : This prospective study included 45 high-caries-risk children, aged 10 to 13 years, who had a partially erupted second permanent molar. The erupting molar was sealed with glass ionomer sealant. Dental plaque samples were collected before and 7 days, 14 days, and 28 days after sealant application. The fluoride and mutans streptococci levels were measured by the modified microdiffusion technique and by the chair-site strip tests, respectively. Results : Seven days after placement of glass ionomer, a statistically significant increase in the fluoride level of dental plaque was found (p < 0.0001), as well as a reduction of mutans strepetococci count (p < 0.0001). However, such changes were gradually declined thereafter. Conclusion : It is concluded that sealing on partially erupted second molars with glass ionomer has a significant but only short - term effect on the fluoride and mutans streptococci levels in dental plaque.en
dc.format.extent1445133 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.828-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectฟันผุen
dc.subjectฟันกรามen
dc.subjectเคลือบฟันen
dc.subjectเรซินทางทันตกรรมen
dc.subjectคราบจุลินทรีย์en
dc.titleผลของการเคลือบฟันกรามแท้ซี่ที่สองที่ขึ้นเพียงบางส่วนด้วยกลาสไอโอโนเมอร์ต่อเชื้อมิวแทนส์ สเตรปโตคอคไค และฟลูออไรด์ในแผ่นคราบจุลินทรีย์en
dc.title.alternativeEffect of glass ionomer sealing on partially erupted permanent second molars on mutans streptococci and plaque fluorideen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineทันตกรรมสำหรับเด็กes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorBusayarat.L@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.828-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nuttar_ra.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.