Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13205
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ-
dc.contributor.authorจุลลดา จุลเสวก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-08-03T04:29:21Z-
dc.date.available2010-08-03T04:29:21Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13205-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการเรียนแบบสืบสอบร่วมกับการใช้เว็บเควสท์ต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์และเปรียบเทียบคะแนนความร่วมมือในการปฏิบัติงานกลุ่มของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีความสามารถในการเรียนทางวิทยาศาสตร์ต่างกัน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนทุ่งมหาเมฆ กรุงเทพมหานคร ที่ศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 จำนวน 90 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลอง 10 แบบ แบบละ 3 คน จำแนกตามระดับความสามารถทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เว็บเควสท์ แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และแบบประเมินความร่วมมือในการปฏิบัติงานกลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนและหลังการทดลอง (t-test dependent) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยการเรียนแบบสืบสอบด้วยเว็บเควสท์ที่จัดกลุ่มการเรียนแตกต่างกัน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยการเรียนแบบสืบสอบด้วยเว็บเควสท์ที่จัดกลุ่มการเรียนแตกต่างกัน มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. กลุ่มที่มีค่าเฉลี่ยของคะแนนความร่วมมือในการปฏิบัติงานกลุ่มสูงสุด คือ กลุ่มการเรียนสูง สูง ต่ำ ส่วนกลุ่มที่มีค่าเฉลี่ยของคะแนนความร่วมมือในการปฏิบัติงานกลุ่มต่ำสุด คือ กลุ่มการเรียนสูง กลาง กลาง และกลุ่มการเรียนสูง กลาง ต่ำ แม่เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน กลุ่มการเรียนสูง สูง ต่ำ มีค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงสุดทั้งในด้านความรับผิดชอบ และด้านการให้ความช่วยเหลือ กลุ่มการเรียนกลาง กลาง กลาง มีค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงสุดทั้งในด้านการแสดงความคิดเห็น ด้านการรับฟังความคิดเห็น และด้านการสื่อความหมาย และกลุ่มการเรียนสูง สูง สูง มีค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงสุดในด้านการใช้กระบวนการกลุ่มen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the effects of inquiry-based learning with webquest upon analytical thinking and to compare the cooperative score of fifth grade students with different science learning achievement. Subjects in this research were 90 students in fifth grade of Tungmahamek school which were ten patterns that classified by science learning achievement score. There were three research instruments ; webquest, analytical thinking test and cooperative evaluation form. The t-test dependent and One-Way ANOVA were used to analyze data at 0.05 level of significant. The research findings were summarized as follows: 1. The students with different science learning achievement grouping who learned with inquiry-based learning with webquest had statistically significant difference between post-test mean scores and pre-test mean scores at .05 level. 2. The students with different science learning achievement grouping who learned with inquiry-based learning with webquest had statistically significant difference on analytical thinking skill at .05 level. 3. The highest cooperative mean score group was the high-high-low group. The lowest cooperative mean score groups were the high-medium-medium and the high-medium-low groups. However, the high-high-low group had the highest mean score in the responsibility and helping parts. The medium-medium-medium group had the highest mean score in the expressing opinion, listening opinion and meaningful communication parts. The high-high-high group had the highest mean score in the group process part.en
dc.format.extent1718098 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.845-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐานen
dc.subjectการเรียนแบบมีส่วนร่วมen
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษาen
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอนen
dc.titleผลของการเรียนแบบสืบสอบร่วมกับการใช้เว็บเควสท์ต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีความสามารถในการเรียนทางวิทยาศาสตร์ต่างกันen
dc.title.alternativeEffects of inquiry-based learning with webquest upon analytical thinking of fifth grade students with different science learning achievementen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.authorpraweenya@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.845-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chunlada.pdf1.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.