Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13412
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorCharit Tingsabadh-
dc.contributor.advisorNantana Gajaseni-
dc.contributor.authorRachasak Klayklung-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2010-09-06T07:30:11Z-
dc.date.available2010-09-06T07:30:11Z-
dc.date.issued2006-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13412-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2006en
dc.description.abstractThe Thachin River was ranked as the most polluted river in Thailand. Pig farms, Urban communities, Aqua cultures, and Industries were significant contributors to deteriorating water quality in Thachin River basin. Consequently, it is facing a serious problem of surface water quality especially when dealing with an accumulation of upstream wastewater discharges. It would be more appropriate, if the taxation model would take into account both the amount of pollution emission at the ‘end-of-pipe’ and the amount of wastewater contaminant in the surface water which should not exceed the environmental loading or overload the carrying capacity of the river ecosystem. This research purposed to seek the appropriated effluent tax system and constructed the optimization mathematical decision making model in order to make the maximization profit that met the environmental constraint and economic constraint from Thachin River. Moreover the amount of pollution discharges would not excess Total Maximum Daily Loading of Thachin River. The steps in estimating of appropriated effluent taxation were divided into 3 phases, Phase I, The data collection was divided into 2 aspects which were Environmental aspect and Economic aspect. First Environmental aspect was the actual information which concerned on pollution characteristic, carrying capacity, Total Maximum Daily BOD Loading, and Target of emission reduction of Thachin River. Second Economic aspect concerned on the production cost, abatement cost and the revenue of every activity in Thachin sub-basin. Phase II was the calculation of marginal abatement cost (MAC) of each main point source and the emission tax rate under Command and Control (CAC). Phase III was the construction of Mathematical Decision-making model and simulated by using optimization model for arriving the appropriate tax charge. The result showed that abatement cost of Uniform tax was lower than Non-uniform tax approximately of 3,480,944,681.53 Baht/year. Moreover the total expenses of Uniform tax was lower than Non-uniform tax approximately of 3,517,515,764.60 Baht/year which lead to the higher of net profit of Uniform tax approximately of 3,518,058,488.41 Baht. Both of Non-uniform and Uniform tax reduced efficiently the wastewater emission in Thachin River which met the standard requirement however, in term of economic, the Uniform tax was more efficient than Non-uniform tax because the total expense per revenue of entire river was lower than Non-uniform tax approximately of 0.552 %. The processes in this study are practical in applying of water pollution control in other rivers.en
dc.description.abstractalternativeแม่น้ำท่าจีนถูกจัดอันดับว่ามีการปล่อยมลภาวะลงสู่แม่น้ำมากที่สุดในประเทศไทย ซึ่งแหล่งมลภาวะที่สำคัญที่เป็นตัวกำเนิดมลภาวะหลักประกอบไปด้วย การทำฟาร์มหมู ชุมชน ฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งผลที่เกิดขึ้นตามมาก็คือแม่น้ำท่าจีนประสบปัญหาอย่างหนักกับคุณภาพน้ำผิวดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อควบรวมกับการสะสมมลภาวะที่มาจากแม่น้ำที่อยู่เหนือแม่น้ำท่าจีนขึ้นไป และจะเป็นการเหมาะสมอย่างยิ่งถ้าสามารถนำแบบจำลองระบบการเก็บภาษีมาประยุกต์ใช้ และทำให้ปริมาณมลภาวะที่แหล่งกำเนิดน้ำเสียและปริมาณของน้ำเสียที่สะสมในแม่น้ำท่าจีน ไม่เกินความสามารถในการรองรับมลภาวะของระบบนิเวศน์ในแม่น้ำได้ จุดมุ่งหมายของงานวิจัยนี้เพื่อค้นหาระบบการเก็บภาษีที่เหมาะสมสำหรับมลภาวะที่เกิดขึ้น และสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับประกอบการตัดสินใจในการคำนวณหาสภาวะกำไรที่สูงที่สุด และสภาวะนั้นไม่เกินข้อจำกัดทางนิเวศวิทยาและข้อจำกัดทางเศรษฐศาสตร์ และปริมาณมลภาวะที่เกิดขึ้นจะต้องไม่เกินความสามารถในการรองรับมลภาวะสูงสุดรายวันของแม่น้ำท่าจีนด้วย ขั้นตอนหลักในการทำงานมีทั้งหมดสามช่วงโดยช่วงที่หนึ่งจะเป็นการรวบรวมฐานข้อมูลทั้งหมด ซึ่งคุณลักษณะของข้อมูลจะประกอบไปด้วยข้อมูลเชิงสิ่งแวดล้อมและข้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์ ข้อมูลเชิงสิ่งแวดล้อมนั้นจะเป็นการเก็บข้อมูลที่เกิดขึ้นจริงในแม่น้ำท่าจีน ซึ่งเกี่ยวกับคุณลักษณะของมลพิษ ศักยภาพการรองรับมลพิษ ความสามารถในการรองรับมลภาวะสูงสุดรายวัน และเป้าหมายของการลดมลภาวะของแม่น้ำท่าจีน และข้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์จะเป็นการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนการผลิต ต้นทุนการบำบัดมลพิษ และกำไรจากผลประกอบการของทุกแหล่งมลภาวะหลักในลุ่มแม่น้ำท่าจีน ช่วงที่สองจะเป็นการคำนวณเพื่อหาสมการต้นทุนหน่วยสุดท้ายในการบำบัดมลพิษ (Marginal abatement cost) ของแต่ละแหล่งมลภาวะหลัก และอัตราภาษีมลภาวะที่อยู่ภายใต้การควบคุม ช่วงที่สามจะเป็นการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับประกอบการตัดสินใจ และกระทำการจำลองสถานการณ์เพื่อหารูปแบบการเก็บภาษีที่เหมาะสม จากผลการศึกษาพบว่าต้นทุนในการบำบัดมลพิษของการเก็บภาษีแบบอัตราเดียว (Uniform tax) จะมีต้นทุนน้อยกว่าการเก็บภาษีแบบไม่ใช่อัตราเดียว (Non-uniform tax) ประมาณ 3,480,944,681.53 บาทต่อปี และค่าใช้จ่ายรวมของการเก็บภาษีและต้นทุนในการบำบัดมลพิษของการเก็บภาษีแบบอัตราเดียวต่ำกว่าประมาณ 3,517,515,764.60 บาทต่อปี ซึ่งเป็นผลทำให้กำไรสุทธิของผู้ประกอบการจากการเก็บภาษีแบบอัตราเดียว มีค่าสูงกว่าการเก็บภาษีแบบไม่ใช่อัตราเดียวประมาณ 3,518,058,488.41 บาทต่อปี และการเก็บภาษีทั้งสองรูปแบบนั้นทำให้มลภาวะอยู่ในระดับที่กำหนด แต่อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาตามหลักเศรษฐศาสตร์การเก็บภาษีแบบอัตราเดียวมีประสิทธิภาพมากกว่า เพราะปริมาณรายจ่ายโดยรวมในการบำบัดมลพิษต่อรายได้ของผู้ประกอบการของการเก็บภาษีแบบอัตราเดียว มีค่าต่ำกว่าการเก็บภาษีแบบไม่ใช่อัตราเดียวประมาณ 0.552% อนึ่งแบบจำลองนี้สามารถนำไปปรับใช้สำหรับการควบคุมมลภาวะในแม่น้ำอื่นได้en
dc.format.extent3305504 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1542-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectWater -- Pollutionen
dc.subjectEnvironmental impact chargesen
dc.subjectThachin River -- Environmental conditionsen
dc.titleSurface water pollution control by appropriate effluent taxation : the Thachin river basin study, Thailanden
dc.title.alternativeการควบคุมมลภาวะทางน้ำโดยการจัดเก็บอัตราภาษีที่เหมาะสมกรณีศึกษาลุ่มแม่น้ำท่าจีนen
dc.typeThesises
dc.degree.nameDoctor of Philosophyes
dc.degree.levelDoctoral Degreees
dc.degree.disciplineEnvironmental Managementes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorCharit.T@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNantana.G@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1542-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rachasak_kl.pdf3.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.