Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13572
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุรวัฒน์ คล้ายมงคล-
dc.contributor.authorประไพพิมพ์ สุขพลี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-10-04T01:58:24Z-
dc.date.available2010-10-04T01:58:24Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13572-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractพัฒนาความรู้เรื่องการสื่อสารเพื่อรักษาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมตามแนวรูปแบบทีม เกม ทัวนาเม้นท์ กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2550 ในโรงเรียนพญาไท จำนวน 88 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดความรู้เรื่องการสื่อสารเพื่อรักษาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล และแบบวัดความสามารถในการอธิบายการพูดเพื่อรักษาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในสถานการณ์ต่างๆ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ การทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้การสื่อสารเพื่อรักษาสัมพันธภาพระหว่างบุคลคลหลังเรียน ของนักเรียนในกลุ่มทดลองสูงกว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้การสื่อสารเพื่อรักษาสัมพันธภาพระหว่างบุคลคล ก่อนเรียนของนักเรียนในกลุ่มทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการอธิบายการพูดเพื่อรักษาสัมพันธภาพระหว่างบุคลคลในสถานการณ์ต่างๆ หลังเรียนของนักเรียนในกลุ่มทดลอง สูงกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการอธิบายวิธีการพูดเพื่อรักษาสัมพันธภาพระหว่างบุคลคลก่อนเรียน ของนักเรียนในกลุ่มทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeTo develop the communicative knowledge for interpersonal relationship of Prathom Suksa five students by using the cooperative learning according to the team game tournament model. The samples were 88 students of Prathom Suksa five in the academic year 2007 at Prayathai School. The research instruments included the knowledge of the interpersonal relationship test and the ability for explain about the interpersonal relationship test. Data was analyzed by using t-test The results were as follows: 1. The post-test knowledge of the sample group mean score of the interpersonal communication relationship was higher than that of the pre-test at the 0.05 level of significance. 2.The post-test ability of the sample group mean score of the interpersonal communication relationship was higher than that of the pre-test at the 0.05 level of significance.en
dc.format.extent1086850 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1729-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมen
dc.subjectทักษะชีวิตen
dc.subjectการสื่อสารen
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลen
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษาen
dc.titleผลของกระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ตามแนวรูปแบบ ทีม เกม ทัวนาเม้นท มีต่อการพัฒนาความรู้เรื่องการสื่อสารเพื่อรักษาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5en
dc.title.alternativeEffects using cooperative learning according to the team game tournament model in the develpoment of communicative knowledge for interpersonal relationalship for prathom suksa five studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorYurawat.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1729-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prapaipim_Su.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.