Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13794
Title: The Thai labour unions : identifying internal constraints to effective representation of members' interests in the workplace and in society
Other Titles: ขบวนการสหภาพแรงงานไทย : การศึกษาข้อจำกัดภายในขบวนการที่มีต่อประสิทธิผลในการปกป้องผลประโยชน์ของสมาชิกในสถานประกอบการและสังคม
Authors: Osolnick, John
Advisors: Lae Dilokvidhyarat
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Political Science
Advisor's Email: Lae.D@chula.ac.th
Subjects: Labor unions -- Thailand
Issue Date: 2006
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Workers around the globe seem to share the same constant up-hill struggle for dignity, justice, fairness and a decent way of life. Trade unions have been and continue to be the pivotal institution for working class people to advance their struggle for themselves, their families, and their communities. The past few decades have borne witness to ever-greater challenges to workers and their unions by those who believe they benefit from limiting the power and effectiveness of unions. Consequently, unions all over the world, including in America and Thailand, have faced setbacks in recent decades. There have however been developments that have shown real promise in turning around the setbacks organized labor has been facing. One such development is the organizing model of unionism.This research is focused on the Thai trade union movement. It is not an elaboration of the many hurdles the movement faces from employers, the government or the law. It is instead an examination of what capacities Thai unions have to adopt and implement the organizing model of unionism.This research seeks to examine what internal constraints Thai unions need to address as a prerequisite to adopting the organizing model. To that end, the research is chiefly concerned with examining two key resources needed to adopt the model: financial resources (dues) and organizing staff. The research reveals that Thai unions currently lack both the financial resources and organizing staff to adopt the organizing model.
Other Abstract: ดูเหมือนว่าผู้ใช้แรงงานทั่วโลกต่างต้องดิ้นรนต่อสู้เพื่อศักดิ์ศรี ความเป็นธรรม ความยุติธรรม และคุณภาพของชีวิตที่ดีขึ้นอย่างไม่อาจหยุดยั้งได้ สหภาพแรงงานเป็นสถาบันที่สำคัญอย่างยิ่งยวดในการช่วยเหลือผู้ใช้แรงงานให้สามารถดิ้นรนต่อสู้เพื่อตัวเอง เพื่อครอบครัวและชุมชนมาโดยตลอด ซึ่งสามารถประจักษ์ได้ว่ากว่ายี่สิบสามสิบปีที่ผ่านมานี้ ผู้ใช้แรงงานและสหภาพแรงงานต้องพบกับความท้าทายที่รุนแรงขึ้น เมื่อมีคนเชื่อว่าการริดรอนอำนาจและประสิทธิภาพของสหภาพแรงงาน จะทำให้พวกเขาได้ผลประโยชน์เพิ่มขึ้น ดังนั้น สหภาพแรงงานทั่วโลก ไม่เว้นแม้แต่ในอเมริกาและประเทศไทย ต้องเผชิญกับอุปสรรคที่กล่าวมานี้ อย่างไรก็ตาม อุปสรรคเหล่านี้ได้ก่อให้เกิดพัฒนาการบางอย่างขึ้น สิ่งหนึ่งก็คือ การสร้างแบบฉบับของระบบสหภาพแรงงาน งานวิจัยชิ้นนี้มุ่งเน้นแต่เฉพาะการขับเคลื่อนของสหภาพแรงงานไทย โดยไม่ได้แจงถึงรายละเอียดของอุปสรรคต่างๆที่ผู้ใช้แรงงานไทยต้องเผชิญกับนายจ้าง รัฐบาลหรือกฎหมาย แต่เป็นบททดสอบถึงศักยภาพของสหภาพแรงงานไทยในการสร้างแบบฉบับของระบบสหภาพแรงงานที่มีประสิทธิภาพ งานวิจัยชิ้นนี้มุ่งค้นหาถึงปัญหาที่สหภาพแรงงานไทยจำเป็นต้องแก้ไขก่อน จึงจะสามารถสร้างแบบฉบับของระบบสหภาพแรงงานต่อไปได้ ท้ายสุดของงานวิจัยนี้ ส่วนใหญ่เป็นการกล่าวถึงปัจจัยสำคัญสองประการที่จำเป็นต้องมีเพื่อใช้ในการสร้างแบบฉบับของระบบสหภาพ นั่นคือ การเงิน (ค่าบำรุงสมาชิก) และบุคลากรจัดตั้ง/หาสมาชิก ผลงานวิจัยนี้ได้เปิดเผยให้เห็นว่าสหภาพแรงงานไทยในปัจจุบันขาดทั้งเงินทุนและบุคลากรจัดตั้ง/หาสมาชิก
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2006
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: International Development Studies
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13794
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1783
ISBN: 9741435029
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2006.1783
Type: Thesis
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
John_Os.pdf870.41 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.