Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1380
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธาราทิพย์ สุวรรณศาสตร์-
dc.contributor.authorนริสา นุ่มสร้อย, 2516--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-08-02T13:08:40Z-
dc.date.available2006-08-02T13:08:40Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741709633-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1380-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์นี้ เพื่อออกแบบ และพัฒนาเครื่องมือสำหรับการจัดการกระบวนการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ เครื่องมือนี้สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ โดยอ้างอิงมาตรฐานซีเอ็มเอ็ม ระดับที่ 2 โดยผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนแม่แบบของแผนการประกันคุณภาพ แบบสอบถาม รายงานสรุปการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์โครงการ และรายงานประจำงวดได้ เครื่องมือดังกล่าวช่วยจัดการดึงข้อมูลจากแผนกำหนดการของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ และจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล จัดการแผนการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ของโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ในองค์กร จัดการข้อมูลเกี่ยวกับแผนการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ กำหนดระดับความรับผิดชอบ และออกรายงานเกี่ยวกับการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ รวมทั้งยังช่วยติดตามสถานะของกระบวนการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ได้อีกด้วย เนื่องจากเครื่องมือนี้ได้ถูกออกแบบให้สามารถทำงานได้บนสภาพแวดล้อมแบบผู้ให้บริการและผู้รับบริการ และแบบเว็บ ดังนั้นผู้ใช้สามารถใช้งานเครื่องมือนี้ได้ทั้งทางอินทราเน็ต และหรืออินเตอร์เน็ต จากการทดลอง ผลปรากฏว่า เครื่องมือสำหรับการจัดการกระบวนการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ สามารถทำงานได้ตามกระบวนการที่ออกแบบไว้ และมีคุณสมบัติครอบคลุมข้อกำหนดของกระบวนการเอสคิวเอในซีเอ็มเอ็ม ระดับที่ 2 สำหรับองค์กรที่ทดลองเครื่องมือนี้ สามารถดำเนินการตามกระบวนการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ ทั้งในส่วนกิจกรรมเอสคิวเอ และส่วนเอสคิวเอโครงการซอฟต์แวร์ รวมทั้งสามารถเก็บข้อมูลทั้งหมดที่เกิดขึ้น และสร้างรายงานได้ ทำให้กระบวนการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ในองค์กรนั้นเป็นไปอย่างมีระบบ ระเบียบ และบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to design and develop a tool for managing software quality assurance process based on CMM Level 2. The tool can collect information occurred during software quality assurance process and generate software quality assurance plan based on IEEE standard or user-defined templates. The tool can retrieve data related to software quality assurance from Software Project Schedule and collect those data in database. This tool also manages software quality assurance plan for each software project assign responsibilities, generate reports and monitor the current status of the software quality assurane process. Since this tool is designed for client-server and web-base environment, the user can use this tool via either Intranet of Internet. According to the test result, the system can support SQA ativities in SQA key process area of CMM Level 2 properly. It can store all information and generate reports correctly.en
dc.format.extent88830242 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectประกันคุณภาพen
dc.subjectซีเอ็มเอ็ม (ซอฟต์แวร์)en
dc.subjectซอฟต์แวร์ -- การควบคุมคุณภาพen
dc.subjectการออกแบบระบบen
dc.titleการออกแบบและพัฒนาเครื่องมือสำหรับการจัดการกระบวนการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์en
dc.title.alternativeDesign and development of a tool for managing software quality assurance processen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTaratip.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Narisa.pdf38.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.