Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13847
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลิศรา ชูชาติ-
dc.contributor.authorสุณิสา สมสมัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialนครราชสีมา-
dc.date.accessioned2010-11-10T10:03:19Z-
dc.date.available2010-11-10T10:03:19Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13847-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการใช้แหล่งเรียนรู้ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 2) เพื่อศึกษาปัญหาการใช้แหล่งเรียนรู้ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 3) เพื่อเปรียบเทียบปัญหาการใช้แหล่งเรียนรู้ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ จำแนกตามขนาดโรงเรียน 3 ขนาดคือ ขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่ 4) เพื่อเปรียบเทียบปัญหาการใช้แหล่งเรียนรู้ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ จำแนกตามเขตอำเภอ คือ ในเขตอำเภอเมือง และนอกเขตอำเภอเมือง ตัวอย่างประชากรคือ ครูวิทยาศาสตร์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. แหล่งเรียนรู้ที่ครูนำมาใช้ แบ่งตามประเภทของแหล่งเรียนรู้ได้ดังนี้ 1) ทรัพยากรที่มีอยู่ในสถานที่ธรรมชาติ ครูส่วนใหญ่ 63% ใช้ทรัพยากรป่าไม้มากที่สุด แต่ใช้เอมอรี่ (Emery) 18.5% น้อยที่สุด 2) แหล่งเรียนรู้ที่เป็นสถานที่ที่มนุษย์สร้างขึ้น ครูส่วนใหญ่ 79% ใช้ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครราชสีมา แต่ใช้แหล่งโบราณคดีบริเวณคูเมือง 21.5% น้อยที่สุด 2. ปัญหาการใช้แหล่งเรียนรู้ที่ครูส่วนใหญ่พบคือ ขาดงบประมาณสนับสนุนในการค้นหาและใช้แหล่งเรียนรู้ 3. ปัญหาการใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ของแต่ละขนาดโรงเรียน ไม่แตกต่างกัน 4. การเปรียบเทียบปัญหาการใช้แหล่งเรียนรู้จำแนกตามเขตอำเภอ พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 โรงเรียนในเขตอำเภอเมืองมีค่าเฉลี่ยของปัญหามากว่าโรงเรียนนอกเขตอำเภอเมืองen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to study state of the utilization of community learning resources 2) to study problems of the utilization of community learning resources 3) to compare problems of the utilization of community learning resources classify by size of schools 3 size as follows small, medium, big 4) to compare problems of the utilization of community learning resources classify between in town and out of town. The samples used in this research were science teachers. The data were collected by using questionnaires and structured interview. The obtained data were analyzed in term of mean, percentage standard deviation and content analysis. The research findings were as followed : 1. Community learning resources that science teachers used in science instruction 1) learning resources in nature science teachers used Forest at the most (63%) and Emery were used at the low level (18.5%) 2) learning resources that made by human science teachers used Nakhon Ratchasima Science Center for Education at the most (79%) and were used at the low level (21.5%). 2. The problems of learning resource utilizing that confronted by most teachers were lack of budget for surveying and utilizing learning resources. 3. The comparison problems of the utilization of community learning resources classify by size of schools that problems of the utilization of community learning resources were not different.en
dc.format.extent1347315 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1756-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- กิจกรรมการเรียนการสอนen
dc.subjectชุมชนกับโรงเรียน -- ไทย -- นครราชสีมาen
dc.titleการศึกษาสภาพและปัญหาการใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นen
dc.title.alternativeA study state and problems of community learning resource utilization in science instruction at the lower secondary school levelen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษาวิทยาศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAlisara.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1756-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunisa_So.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.