Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13913
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กมลวรรณ ตังธนกานนท์ | - |
dc.contributor.author | ภัทรภร แสงไชย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2010-11-16T07:28:31Z | - |
dc.date.available | 2010-11-16T07:28:31Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13913 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของปฏิสัมพันธ์ระหว่างการใช้แบบการสอน 2 แบบ คือการสอนแบบแก้ปัญหาโดยอิงทฤษฎีสามศรและการสอนแบบปกติในวิชาคณิตศาสตร์และรูปแบบการแก้ปัญหา 2 รูปแบบ คือ รูปแบบการแก้ปัญหาแบบนักค้นคว้าและรูปแบบการแก้ปัญหาแบบนักพัฒนาที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 72 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบแก้ปัญหาโดยอิงทฤษฎีสามศร และแบบปกติ (2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ (3) แบบวัดรูปแบบการแก้ปัญหา (4) แบบความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมตัวแปรพหุนามแบบสองทาง ผลการวิจัยที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ (1.) มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างแบบการสอนและรูปแบบการแก้ปัญหาต่อความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2.) นักเรียนที่ได้รับการสอนแบบแก้ปัญหาโดยอิงทฤษฎีสามศร มีความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3.) นักเรียนที่มีรูปแบบการแก้ปัญหาแบบนักค้นคว้ามีความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่มีรูปแบบการแก้ปัญหาแบบนักพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en |
dc.description.abstractalternative | The propose of this research was to study the interaction effects between two teaching of methods ,i.e., problem-solving triarchic theory-based and conventional teaching methods and two problem-solving styles, i.e., explorer and developer styles on creative problem-solving ability and mathematics learning achievement. Samples were 72 students in the ninth grade. Research instruments included, lesson plans applying triarchic theory-based and conventional teaching methods, mathematics learning achievement test, problem - solving styles inventory, and creative problem solving test. Data were analyzed by using descriptive statistics, and two way multivariate analysis of covariance. The findings were as follows: 1. The interaction between teaching methods and problem-solving styles on students’ creative problem-solving ability and mathematics learning achievement was statistically significant (p<.05). 2. Creative problem– solving ability and mathematics learning achievement of students taught by problem-solving triarchic theory-based teaching method were statistically significantly higher than those of the students taught by conventional teaching methods (p < .05). 3. Creative problem – solving ability and mathematics learning achievement of students whose problem-solving styles were explorer were statistically significantly higher than those of the students whose problem-solving styles were developer (p < .05). | en |
dc.format.extent | 2359241 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.619 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ทฤษฎีสามศร | en |
dc.subject | การแก้ปัญหา | en |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | en |
dc.subject | ความคิดสร้างสรรค์ | en |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | en |
dc.title | การวิเคราะห์ผลของปฏิสัมพันธ์ระหว่างการสอนแบบแก้ปัญหาโดยอิงทฤษฎีสามศรกับรูปแบบการแก้ปัญหาที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 | en |
dc.title.alternative | An analysis of interaction effects between problem-solving teaching method based on the triarchic theory and problem-solving styles on creative problem-solving ability and mathematics learning achievement of ninth grade students | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิจัยการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Kamonwan.T@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.619 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pattaraporn_sa.pdf | 2.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.