Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13980
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย-
dc.contributor.authorสมบัติ สุขนิจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-11-26T09:32:56Z-
dc.date.available2010-11-26T09:32:56Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741748302-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13980-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractแก้ไขปัญหาผิวเป็นตุ่มในอุตสาหกรรมผลิตเม็ดพลาสติกพีวีซี โดยการนำแนวทาง ซิกซ์ ซิกม่ามาประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงกระบวนการผลิต เพื่อศึกษาปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อค่าจำนวนเจล ที่เกิดขึ้นบนผิวชิ้นงานซึ่งเป็นข้อกำหนดด้านผลิตภัณฑ์ของลูกค้าและหาเงื่อนไขที่เหมาะสมของปัจจัยดังกล่าว ในการผลิตที่จะทำให้ปริมาณของเสียลดลง โดยหน่วยวัดผลระดับการปรับปรุงที่กำหนดคือปริมาณของเสียที่เกิดขึ้น ซึ่งก่อนการปรับปรุงกระบวนการผลิตมี ปริมาณของเสียเท่ากับ 0.2% การวิจัยจะดำเนินตามขั้นตอนของซิกซ์ ซิกม่าทั้ง 5 ขั้นตอน โดยเริ่มจากขั้นตอนนิยามปัญหา การวัดเพื่อกำหนดสาเหตุของปัญหา การวิเคราะห์ปัญหา การปรับปรุงแก้ไขกระบวนการ และการควบคุมกระบวนการผลิต ตามลำดับ ซึ่งจะได้ผลลัพธ์ของกระบวนการ สามารถกำหนดค่าระดับของปัจจัยนำเข้า ที่มีนัยสำคัญที่ส่งผลต่อค่าจำนวนเจล โดยการนำปัจจัยนำเข้าที่สำคัญ 4 ปัจจัยมาออกแบบการทดลองโดยใช้วิธีการของพื้นผิวผลตอบ ในขั้นตอนการปรับปรุงแก้ไขกระบวนการ แล้วนำไปวิเคราะห์หาระดับที่เหมาะสมของการปรับค่าปัจจัยที่เกี่ยวข้องนั้น เพื่อให้ได้ค่าจำนวนเจลที่ต่ำที่สุดที่เหมาะสมคือ 7 จุด โดยการกำหนดอุณหภูมิในการอัดรีดเม็ดเป็น 145 องศาเซลเซียส และขนาดเม็ดพีวีซีผง 108 ไมครอน แล้วทดสอบยืนยันผลก่อนนำไปใช้งาน จริงในกระบวนการผลิต จากนั้นควบคุมปัจจัยนำเข้าที่สำคัญทั้งสองด้วยกระบวนการเชิงสถิติ ในขั้นตอนการควบคุมกระบวนการ เมื่อพิจารณาข้อมูลของเสียจากกระบวนการผลิตหลังการปรับปรุงกระบวนการ พบว่า สามารถลดปริมาณของเสียในกระบวนการผลิตจาก 0.2% เป็น 0%en
dc.description.abstractalternativeTo solve the gel problem in PVC Compound Industry. Six Sigma Approach is applied not only to study the factors influencing the number of gel, but also to identify the appropriate operative conditions for reducing defects. The efficient improvement is measured by the number of defects which the current process has 0.2%. The step of study will follow five phases of Six Sigma methodology. The process composes of define phase, measure phase, analyze phase, improve phase and control phase respectively. The result of the process is to determine KPIVs that significantly affect to the number of gel. Four KPIVs have been used to perform an experiment with response surface in improvement phase. The appropriate minimum number of gel is seven, the extruder temperature is 145 degree Celcius and particle size of PVC Resin is 108 micron. The preliminary experiments are conducted to confirm the resullt before applying to production line. Finally, the result of the statistical analysis are set at the process of control phase. After process improvement, the data shows that the new condition can reduce the number of defects from 0.2% to 0%.en
dc.format.extent8143810 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ)en
dc.subjectการควบคุมกระบวนการผลิตen
dc.subjectอุตสาหกรรมพลาสติก -- การควบคุมคุณภาพen
dc.titleการแก้ไขปัญหาผิวเป็นตุ่มในอุตสาหกรรมผลิตเม็ดพีวีซีโดยแนวทางซิกซ์ ซิกม่าen
dc.title.alternativeThe problem solving of gel in PVC compound industry by six sigma approachen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorDamrong.T@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sombat_Su.pdf7.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.