Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14060
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยรัตน์ เอี่ยมกุลวัฒน์-
dc.contributor.authorภัทรา ธนารักษ์พงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2010-12-16T09:06:27Z-
dc.date.available2010-12-16T09:06:27Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14060-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractวิเคราะห์ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจลงทุนอย่างมีเหตุผล และเพื่อช่วยให้ตลาดทุนในประเทศไทยสามารถพัฒนาและเจริญเติบโตได้อย่างมีประสิทธิภาพ การศึกษาครั้งนี้จะพิจารณาอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์รายเดือน ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2542 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2548 รวม 84 เดือน โดยใช้แบบจำลอง Multifactor model และวิธีการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ เป็นเครื่องมือในการศึกษาความเสี่ยง และอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์ สร้างเส้นตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนวัดอัตราผลตอบแทนที่ปรับด้วยความเสี่ยงตามดัชนีชาร์ปและดัชนีเทรเนอร์ ผลการศึกษาพบว่า ตัวแปรปัจจัยทางเศรษฐกิจมหภาคสามารถนำมาประยุกต์ใช้ ในการอธิบายอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์ส่วนใหญ่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับอัตราผลตอบแทนของตลาด เมื่อเปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์กับเส้นตลาดหลักทรัพย์ พบว่า มีทั้งหลักทรัพย์ที่มีราคาต่ำกว่าที่ควรจะเป็นและสูงกว่าที่ควรจะเป็น ซึ่งผลที่ได้จะนำมาใช้เพื่อพิจารณาว่าผู้ลงทุนควรจะซื้อหรือขายหลักทรัพย์ สำหรับการวัดอัตราผลตอบแทนที่ปรับด้วยความเสี่ยงโดยใช้ดัชนีชาร์ปและดัชนีเทรเนอร์ พบว่า ในช่วงปี พ.ศ. 2542-2548 ทุกอุตสาหกรรมมีอัตราผลตอบแทนที่ปรับด้วยความเสี่ยงดีกว่าตลาดหลักทรัพย์ ยกเว้น กลุ่มอุตสาหกรรมธุรกิจการเงินที่มีอัตราผลตอบแทนที่ปรับด้วยความเสี่ยงต่ำกว่าตลาดหลักทรัพย์en
dc.description.abstractalternativeTo analyze risks and returns in the Stock Exchange of Thailand. The results provide the guideline for rational investment and efficient development of the stock market in Thailand.This study uses monthly rate of return from January 1999 to December 2005, totalled 84 months. Multifactor model and Sharpe and Treynor indices are used as research tools to analyze risk, rate of return, security market line and management efficiency. The results show that multifactor model can explain securities return efficiently, and the relationship between securities return and market return has a positive relationship. By comparing the returns of securities to the security market line, there are both undervalued and overvalued securities. This result is used to determine whether investors should buy or sell the securities in their portfolios. The measurement of risk-adjusted return according to Sharpe Index and Treynor Index shows that during 1999-2005 all industries excluding financial industry have better risk-adjusted returns than stock index.en
dc.format.extent1373648 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1874-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยen
dc.subjectการลงทุน -- การประเมินความเสี่ยงen
dc.subjectหุ้นและการเล่นหุ้น -- อัตราผลตอบแทนen
dc.subjectตลาดหลักทรัพย์ -- ไทยen
dc.titleการวิเคราะห์ความเสี่ยง และอัตราผลตอบแทนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยen
dc.title.alternativeAn analysis of risk and rate of return in The Stock Exchange of Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChairat.A@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1874-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pattra_Th.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.