Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1427
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กอบบุญ หล่อทองคำ | - |
dc.contributor.author | สยาม ทิพย์สุนทรศักดิ์, 2520- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-08-03T08:34:22Z | - |
dc.date.available | 2006-08-03T08:34:22Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.isbn | 9741797397 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1427 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาผลของวัฏจักรความร้อนการเชื่อมโดยศึกษาตัวแปรคือ อุณหภูมิสูงสุดและเวลาการเย็นตัว ต่อค่าความแกร่งและความแข็งของเหล็กกล้า ASTM A516 เกรด 70 โดยทดสอบกับชิ้นงานตามแนวการรีดและตั้งฉากแนวการรีด การทดลองแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอนคือ ตอนที่ 1 ศึกษาผลวัฏจักรความร้อนรอบเดียว อุณหภูมิสูงสุด 1350 C เวลาการเย็นตัวจาก 800 ถึง 500 C (delta t8/5) 10, 20, 40 และ 80 วินาที ตอนที่ 2 ศึกษาผลวัฏจักรความร้อนการเชื่อมรอบคู่ โดยแบ่งแยกย่อยออกเป็นอีก 3 ตอนคือ ตอนแรกกำหนดให้อุณหภูมิสูงสุดรอบแรกและรอบสอง (Tp1และ Tp2) 1350 C เวลาการเย็นตัว (delta t8/5) 10, 20, 40 และ 80 วินาที ตอนย่อยที่ 2 กำหนดให้ Tp1 = 1350 C, delta t8/5(1) = 20 วินาที และ Tp2 = 600, 750, 900 และ 1350 C, delta t8/5(2) = 10, 20, 40 และ 80 วินาที ตอนย่อยที่ 3 ศึกษาการจำลองการเชื่อมชิ้นงานแนวตั้งฉากการรีดโดยให้ Tp1 = 1350 C, delta t8/5(1) = 20 วินาที และ Tp2 = 1350, 900 C, delta t8/5(2) = 10, 20, 40 และ 80วินาที ผลการวิจัยพบว่าในการจำลองการเชื่อมแบบรอบเดียว ความแกร่งจะมีค่าต่ำกว่าก่อนจำลองการเชื่อม โดยที่ deltat8/5 = 10-20 วินาที โครงสร้างจุลภาคส่วนใหญ่จะประกอบด้วยมาร์เทนไซท์ เมื่อเวลาการเย็นตัวเพิ่มขึ้น จะเกิดโครงสร้างอซิคิวลาร์เฟอร์ไรท์บางส่วน แต่ค่าความแกร่งไม่สูงขึ้น ความแข็งจะมีค่าลดลง อันมีผลมาจากโครงสร้างมาร์เทนไซท์เปลี่ยนเป็นอซิคิวลาร์เฟอร์ไรท์ สำหรับการจำลองการเชื่อมแบบรอบคู่พบว่าเวลาเย็นตัวในรอบแรกไม่มีผลกระทบต่อความแกร่งขณะที่ Tp2 = 900 C จะให้ความแกร่งภายหลังการจำลองการเชื่อมแบบรอบคู่สูงสุด เพราะโครงสร้างจุลภาคประกอบด้วยเพิร์ลไลท์และอซิคิวลาร์เฟอร์ไรท์ ที่มีขนาดเกรนละเอียด ส่วนทิศทางการรีดของชิ้นงานทดสอบ จะมีผลกระทบอย่างชัดเจนที่ Tp2 = 900 C โดยชิ้นงานตั้งฉากแนวการรีด จะมีความแกร่งต่ำกว่าชิ้นงานขนานแนวการรีด | en |
dc.description.abstractalternative | This research studied the effect of peak temperature and cooling time of weld thermal cycles on hardness and toughness of carbon ASTM A 516-70 steel. Specimens in rolling and transverse rolling direction were prepared. The first experiment was single weld thermal cycle simulation. The peak temperature (Tp) was at 1350 degree celcius and cooling time from 800 to 500 degree celcius (delta t8/5) is 10 ,20, 40, and 80 seconds. The second experiment was double thermal cycle simulation, which were divided into 3 parts; the first part was Tp1 = Tp2 = 1350 degree celicus and delta t8/5 = 10, 20, 40 and 80 s. The second part was Tp1 = 1350 C and delta t8/5(1) = 20 s, Tp2 = 600, 750, 900 and 1350 degree celcius and dalta t8/5(2) = 10, 20, 40 and 80 s. The third part was experiment for transverse rolled specimens simulation. The Tp1 was 1350 C and delta t8/5 was 20 s, and Tp2 were 900 and 1350 C and delta t8/5 were 10, 20, 40 and 80 s. The results showed that by single weld thermal cycle simulation, the specimen had the lower toughness than specimen before simulation,when delta t8/5 = 10-20 s. The major microstructure is Martensite. Increasing the cooling time, acicular ferrite structure increases. The toughness does not increase, but hardness decreases. By double thermal cycle simulation, it was found that the first cooling time did not affect to toughness, but at the second peak temperature of 900 degree celcius, toughness increases. This is because microstructure comprise of fine pearlite and acicular ferrite. The effect of rolling direction was found when the second peak temperature was at 900 degree celcius. At this temperature the sample in transverse rolling direction had the lower toughness than the sample in rolling direction. | en |
dc.format.extent | 6458339 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | เหล็กกล้า--การเชื่อม | en |
dc.subject | เหล็กกล้า--สมบัติทางกล | en |
dc.title | ผลของวัฏจักรความร้อนการเชื่อมต่อความแข็งและความแกร่งของเหล็กกล้าเกรด ASTM A516-70 | en |
dc.title.alternative | Effect of weld thermal cycle on hardness and toughness of the ASTM A516-70 steel | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโลหการ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | lgobboon@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sayarm.pdf | 5.98 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.