Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1429
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชาญณรงค์ บาลมงคล-
dc.contributor.advisorคมสัน เพ็ชรรักษ์-
dc.contributor.authorอรรถพันธ์ จันทสมิต, 2520--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-08-03T08:47:14Z-
dc.date.available2006-08-03T08:47:14Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741725485-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1429-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอการศึกษาผลการสับและปลดสวิตช์ชุดตัวเก็บประจุของสถานีไฟฟ้าที่ก่อให้เกิดแรงดันและกระแสเกินในระบบไฟฟ้าและชุดตัวเก็บประจุ โดยใช้สถานีไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคระดับแรงดัน 22 kV เป็นกรณีศึกษา ซึ่งมีการเปรียบเทียบผลการตรวจวัดกับผลการจำลองด้วยโปรแกรม EMTP/ATP พร้อมทั้งวิเคราะห์ผลของพารามิเตอร์ต่างๆ ที่มีต่อขนาดแรงดันและกระแสเกินจากการสับและปลดสวิตช์ เช่น ขนาดของตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำจำกัดกระแส เป็นต้น พร้อมกันนี้ ยังวิเคราะห์วิธีการลดแรงดันและกระแสเกินจากการสับสวิตช์ชุดตัวเก็บประจุ ได้แก่ การใช้ตัวต้านทานขนานสวิตช์, การใช้ตัวเหนี่ยวนำขนานสวิตช์, การใช้ตัวเหนี่ยวนำต่ออนุกรมกับชุดตัวเก็บประจุ และการใช้ชุดควบคุมการปิดสวิตช์ จากผลการจำลองพบว่าวิธีสุดท้ายสามารถลดแรงดันและกระแสเกินได้มากที่สุด สำหรับวิธีการลดแรงดันและกระแสเกิน กรณีการเกิดอาร์กซ้ำสองเฟสขณะปลดสวิตช์ชุดตัวเก็บประจุจะเลือกใช้กับดักฟ้าผ่า โดยพิจารณาตำแหน่งการติดตั้งกับดักฟ้าผ่าที่แตกต่างกัน พบว่าการติดตั้งกับดักฟ้าผ่าต่อระหว่างเฟส-กราวด์สามารถลดแรงดันเกินที่บัสได้ดีที่สุด ส่วนการติดตั้งกับดักฟ้าผ่าต่อระหว่างเฟส-นิวทรอลหรือกับดักฟ้าผ่าต่อระหว่างเฟส-นิวทรอลและนิวทรอล-กราวด์สามารถลดแรงดันเกินที่ชุดตัวเก็บประจุได้ดีที่สุดen
dc.description.abstractalternativeThis thesis presents a study of capacitor bank switching in substation causing transient overvoltage and overcurrent on system and capacitor bank. The field test from 22 kV PEA system is compared with the simulation results from EMTP/ATP. In addition, the effects of parameters such as capacitor size, current limiting reactor size are investigated. For closing capacitor banks , some techniques to reduce transient overvoltage and overcurrent, i.e. pre-insertion resistor, pre-insertion inductor, inductor series capacitor bank, and synchronous closing control are studied. The simulation results show that the synchronous closing control can reduce overcurrent and overvoltage better than other methods. For opening capacitor banks in the case of two-phase restikes, protection with surge arresters in different installations are considered. The simulation results show that the installation of arresters between phase-ground gives the best protection for bus while the installation of arresters between phase-neutral orphase-neutral and neutral-ground gives the best protection for capacitor banks.en
dc.format.extent1781552 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสถานีไฟฟ้าย่อยen
dc.subjectตัวเก็บประจุไฟฟ้าen
dc.subjectแรงดันไฟฟ้าเกินen
dc.titleการศึกษาผลของการสับและปลดสวิตช์ชนิดสูญญากาศต่อชุดตัวเก็บประจุที่สถานีไฟฟ้าย่อยระดับแรงดันปานกลางen
dc.title.alternativeStudy on capacitor-bank switching by vacuum switch in medium voltage substationen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChannarong.B@chula.ac.th-
dc.email.advisorKomson.P@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Attapan.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.