Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14405
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นพนันท์ ตาปนานนท์ | - |
dc.contributor.author | ขวัญชนก อำภา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.coverage.spatial | กรุงเทพมหานคร | - |
dc.date.accessioned | 2011-01-13T01:31:46Z | - |
dc.date.available | 2011-01-13T01:31:46Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14405 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการตั้งถิ่นฐาน การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่หน่วงน้ำฝั่งตะวันตกของกรุงเทพมหานคร มาตรการและวิธีการในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่หน่วงน้ำฝั่งตะวันตกของกรุงเทพมหานคร เพื่อการดำรงไว้ซึ่งความสามารถในการเป็นพื้นที่รับและระบายน้ำของกรุงเทพมหานครฝั่งตะวันตกเอาไว้ ผลการศึกษาพบว่าการตั้งถิ่นฐานและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่หน่วงน้ำฝั่งตะวันตกของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่ลุ่มต่ำและมีคูคลองตามธรรมชาติเป็นจำนวนมาก ได้มีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจากพื้นที่เกษตรกรรมเป้นพื้นที่สิ่งปลูกสร้าง มีการพัฒนาหมู่บ้านจัดสรรของภาคเอกชนและการดำเนินงานด้านสาธารณูปโภคของภาครัฐ พร้อมทั้งมีการตั้งถิ่นฐานของชุมชนแออัดและชุมชนชานเมืองบุกรุกและรุกล้ำในบริเวณริมคลองเป็นจำนวนมาก ทำให้พื้นที่รับและระบายน้ำตามธรรมชาติลดลง ส่งผลให้พื้นที่รับและระบายน้ำตามธรรมชาติลดลงตามไปด้วย ในส่วนของมาตรการและวิธีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในปัจจุบันพบว่าส่วนใหญ่ใช้มาตรการป้องกันน้ำท่วม โดยใช้สิ่งก่อสร้าง คือ การจัดทำระบบปิดล้อม มีผลให้ระบบระบายน้ำตามธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไป ระบบหมุนเวียนของน้ำในลำคลองไม่เป็นไปตามธรรมชาติ ประกอบกับน้ำที่ต้องระบายออกมีปริมาณมากขึ้นอันมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงใช้ประโยชน์ที่ดิน ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้สืบเนื่องมาจากการวิเคราะห์ความสามารถของพื้นที่รับและระบายน้ำจากการกำหนดลำดับความสำคัญของปัญหาระบบระบายน้ำที่เกิดจากการพัฒนาพื้นที่ของแต่ละปัจจัย โดยสามารถแบ่งรูปของพื้นที่เพื่อวางแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินออกเป็น 3 ประเภท คือพื้นที่จำกัดการพัฒนา พื้นที่จำกัดการพัฒนาปานกลาง และพื้นที่สำหรับรับการขยายตัวของเมือง ซึ่งเป็นแนวทางในการควบคุมพื้นที่ ซึ่งมีความสามารถในการรับและระบายน้ำตามธรรมชาติเอาไว้ ทั้งนี้เพื่อคงความสามารถในการรับและระบายน้ำตามธรรมชาติ และในขณะเดียวกันก็ยังคงมีพื้นที่ซึ่งสามารถรองรับการพัฒนาที่เกิดขึ้นจากการขยายตัวของพื้นที่เมืองชั้นในได้ พร้อมกับควบคุมการพัฒนาสิ่งปลูกสร้างที่ทำลายระบบน้ำตามธรรมชาติ ตลอดจนการหาพื้นที่เพื่อกักเก็บน้ำและชะลอน้ำ เพื่อช่วยในการป้องกันน้ำท่วมในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครชั้นในเอาไว้ได้อีกทางหนึ่ง | en |
dc.description.abstractalternative | The thesis objective study the appearance of settlement, land uses in the retention areas of western Bangkok, for measuring and solving the problems of water flooding. This thesis also presents the guidelines for the land uses in order to maintain the ability of water drainage in the western areas of Bangkok. The results of the study present that the settlements and land uses in the retention areas in western Bangkok has been changed the land use objectives from agricultural areas to urban areas. There are development of villages by private individual and public utility work by public sectors. Also, there are a lot of transgression into the cannels by settlement of slum and suburban communities. The effect from land use change and transgression of land cannels cause of water flooding due to reduction of natural water retention areas and natural water drainage areas. For the method solving the problems of water flooding, at present we found the method to prevent water flooding by the use of structural materials. The polder system by using of structural materials and exceed drainage water from and uses have changed the natural water circulation system. | en |
dc.format.extent | 22370667 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.115 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การใช้ที่ดิน -- ไทย -- กรุงเทพฯ | en |
dc.subject | การพัฒนาที่ดิน | en |
dc.subject | การระบายน้ำ -- ไทย -- กรุงเทพฯ | en |
dc.title | แนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่หน่วงน้ำฝั่งตะวันตกของกรุงเทพมหานคร | en |
dc.title.alternative | Land use guidelines for the water retention areas in western Bangkok | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การวางผังเมือง | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Nopanant.T@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.115 | - |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
khwanchanok.pdf | 21.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.