Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14479
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรีพร ธนศิลป์ | - |
dc.contributor.author | นิพาพร ภิญโญศรี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2011-01-17T07:20:27Z | - |
dc.date.available | 2011-01-17T07:20:27Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14479 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง อายุ เพศ ความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลัน การรับรู้ความรุนแรงของโรค หลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลัน บุคคลที่เกี่ยวข้อง และสถานที่ขณะเกิดอาการ กับการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลัน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลันทั้งเพศชายและหญิงที่มารับการรักษาที่วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล อายุตั้งแต่ 20-59 ปี จำนวน 120 ราย เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลันและแบบประเมินการรับรู้ความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลัน และแบบประเมินความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลัน (NIHSS) ซึ่งเครื่องมือดังกล่าวผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเที่ยงของเครื่องมือโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ได้ เท่ากับ .80, และ .84 และแบบประเมิน NIHSS หา Interrater retest ได้เท่ากับ .95 และ .96 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน และสถิติทดสอบไค-สแควร์ สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1. ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลันเพียงร้อยละ 20.00 ที่มารับการรักษาเร็ว คือมารับการรักษาในโรงพยาบาลภายใน 3 ชั่วโมงหลังเกิดอาการ 2. การรับรู้ความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลันบุคคลที่เกี่ยวข้อง และสถานที่ขณะเกิดอาการ มีความสัมพันธ์กับการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05; x²= 31.02, x²= 21.74, และ x²= 31.27 ตามลำดับ) แต่ อายุ เพศ และความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลันไม่มีความสัมพันธ์กับการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลัน (p>.05) | en |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this descriptive research was to study the relationships between age, sex, stroke knowledge, stroke severity, stroke bystander, and location of onset with seeking treatment of acute ischemic stroke patients. Samples were 120 male and female, were 20-59 years old and were acute ischemic stroke patients admitted at Vajira Hospital. Research instruments: Stroke Knowledge Scale, Stroke Severity Scale, and NIHSS. They had been tested for their content validity and reliability. The reliability were .80, and .84, respectively, and NIHSS Interrater retest were .95, and .96, respectively. Statistical techniques used in data analysis were mean, median, standard deviation, and Chi-Square test. The findings were as follows: 1. There were 20 % of acute ischemic stroke patients that had early seeking treatment within 3 hours after the onset of symptoms.2. There were significant relationships between stroke severity, stroke bystander, and location of onset with seeking treatment of acute ischemic stroke patients (p<.05; X²= 31.02, X²= 21.74, and X²= 31.27, respectively) but there were no relationships between age, sex, and stroke knowledge with seeking treatment of acute ischemic stroke patients (p>.05). | en |
dc.format.extent | 1126574 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.989 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | หลอดเลือดสมอง -- โรค -- ผู้ป่วย | en |
dc.subject | หลอดเลือดสมอง -- โรค -- การรักษา | en |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลัน | en |
dc.title.alternative | Factors related to seeking treatment after the onset of acute ischemic stroke patients | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | พยาบาลศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Sureeporn.T@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.989 | - |
Appears in Collections: | Nurse - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nipaporn_pi.pdf | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.