Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14506
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเดโช ทองอร่าม-
dc.contributor.advisorสุวิทย์ ปุณณชัยยะ-
dc.contributor.authorธีระยุทธ เพลิดพริ้ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-01-20T08:30:40Z-
dc.date.available2011-01-20T08:30:40Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14506-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractพัฒนาระบบวัดรังสีแบบโมดูลขนาดเล็ก โดยอาศัยสัดส่วนโครงโมดูลตามมาตรฐานยูโรคาร์ดเฟรม (Eurocard frame) เป็นแนวทางและได้ออกแบบโมดูลบรรจุวงจรขนาดความกว้าง 4.5 และ 9.0 ซ.ม. สำหรับประกอบชุดวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่จำเป็น ในการจัดระบบวัดรังสีแบบนับรวมและแบบนับแยกเฉพาะพลังงาน ประกอบด้วยโมดูลวงจรแหล่งจ่ายไฟฟ้าศักดาต่ำ วงจรแหล่งจ่ายไบอัสศักดาสูง วงจรขยายสัญญาณพัลส์ วงจรวิเคราะห์แบบช่องเดี่ยว (SCA) วงจรนับรังสี วงจรตั้งเวลา วงจรตัดสัญญาณ/เรตมิเตอร์ และวงจรเชื่อมโยงสัญญาณกับไมโครคอมพิวเตอร์เพื่อถ่ายโอนข้อมูล ระบบวัดรังสีแบบโมดูลที่พัฒนาขึ้นออกแบบและสร้างโดยเลือกวัสดุพร้อมอุปกรณ์ที่หาได้ในประเทศเป็นหลักเพื่อความสะดวกในการบำรุงรักษา ผลการทดลองจัดระบบวัดรังสีแบบนับรวมพบว่าสามารถนับรังสีที่อัตรานับสูงสุด 4.5 x 10[superscript 6] cps แสดงค่านับวัดสูงสุดที่ 10[superscript 6] - 1 ครั้ง ตั้งเวลานับรังสีได้ตั้งแต่ 1 วินาที - 99 นาที และสามารถแสดงค่าเฉลี่ยของการนับรังสีด้วยเรตมิเตอร์ได้ในย่าน 100 - 10[superscript 5] cps ในขณะที่ระบบแยกนับเฉพาะพลังงานนั้นผลทดสอบความเป็นเชิงเส้นของสเกล LLD และ [data]E ของอุปกรณ์วิเคราะห์แบบช่องเดี่ยวพบว่าให้ค่า R[superscript 2] = 0.999 และ 0.999 ตามลำดับ และจากการทดลองวิเคราะห์สเปกตรัมพลังงานด้วยหัววัดรังสี NaI(Tl) พบว่าให้ผลเป็นที่พอใจสำหรับการใช้งานด้านการเรียนการสอนและงานวิจัยพื้นฐาน.en
dc.description.abstractalternativeDevelopes a Mini-modular Radiation Measuring System (MRMS) using a guideline of Eurocard frame size for MRMS dimensional construction. The single and double width(4.5 and 9.0 cm.) of MRMS-modules were designed for assembling a set of essential electronic modules of integral and differential counting systems. Those circuit modules were:Low voltage power supply, High voltage bias supply, Pulse amplifier, Single channel analyzer, Scaler, Timer, Discriminator/Ratemeter and data interfacing circuit for data transferring to a microcomputer. The testing results for integral counting system at maximum count rate of 4.5 x 10[superscript 6] cps, maximum disply of 10[superscript 6] - 1 counts, the elapse time setting between 1 s - 99 min and the average count by ratemeter ranged from 100 - 10[superscript 5] cps could be displayed. While the linearity test of LLD and [data]E of SCA function in the differential counting system were found at R[superscript 2]= 0.999 and 0.999, respectively. From the energy spectrum analysis using NaI(Tl) scintillation detector showed satisfactory results. The system performance of MRMS was capable for educational and basic research utilizations.en
dc.format.extent4745447 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1027-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเครื่องวัดรังสีen
dc.subjectการแผ่รังสี -- การวัดen
dc.subjectกัมมันตภาพรังสี -- อุปกรณ์en
dc.titleการพัฒนาระบบวัดรังสีแบบโมดูลขนาดเล็กen
dc.title.alternativeDevelopment of a mini-modular radiation measuring systemen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorDecho.T@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSuvit.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1027-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
theerayuth.pdf4.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.