Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14618
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวลิต รัตนธรรมสกุล-
dc.contributor.authorศักดิ์สิทธิ์ อิ่มแมน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-02-16T08:24:25Z-
dc.date.available2011-02-16T08:24:25Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14618-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการทดลองเพื่อศึกษาอัตราการล้างย้อนที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของอัลตราฟิลเตรชันเมมเบรนในการผลิตน้ำประปา โดยพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ คือ ความดัน อัตราการล้างย้อน การเดินระบบระยะยาว และการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ในการทำนายอัตราการผลิตน้ำที่ได้เปรียบเทียบกับการทดลองโดยใช้น้ำจากคลองประปาสามเสน เครื่องต้นแบบที่ใช้ในการทดลองประกอบไปด้วยโมดูลเมมเบรนสามโมดูล ถังเก็บน้ำดิบ และถังเก็บน้ำใส ในการทดลองได้ทำการเปลี่ยนแปลงความดันที่ใช้คือ 100 กิโลปาสคาล 110 กิโลปาสคาล 120 กิโลปาสคาล 130 กิโลปาสคาล 140 กิโลปาสคาล และ 150 กิโลปาสคาล ตามลำดับ และอัตราการล้างย้อนที่ใช้ คือ 7 ลบ.ม/ ชม. 4 ลบ.ม/ ชม. และ 2 ลบ.ม/ ชม. จากผลการทดลองที่ได้จะทำการเดินระบบด้วยความดันที่เหมาะสมและอัตราการล้างย้อนที่เหมาะสมคือ 150 กิโลปาสคาล และ 7 ลบ.ม/ตร.ม-ชม. ตามลำดับ โดยมีแรงเฉือนสูงที่สุด คือ 1607.14 ปาสคาล และได้มีการพัฒนาสมการทางคณิตศาสตร์เพื่อนำมาหาความสัมพันธ์ระหว่างแรงเฉือนกับความต้านทานทั้งหมด พบว่าสามารถนำไปทำนายถึงอัตราการล้างย้อนที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดการอุดตันของเมมเบรน นอกจากนั้นแล้ว แบบจำลองทางคณิตศาสตร์อนุกรมความต้านทานและแบบจำลองทางคณิตศาสตร์รูพรุน สามารถนำมาประยุกต์ใช้งานกับการทดลองโดยใช้อัลตราฟิลเตรชันเมมเบรนได้ดีen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study the effect of backwash rate on performance of prototype ultrafiltration membrane for water supply production, based on operating pressure, backwash rate, long-term operation and mathematical model to predict permeate flux, compared with the data from experimental. The experiment was conducted by using raw water from water supply canal at the Samsen. The prototype system was composed of three of membrane modules, raw water tank and clear water tank. In this research, operating pressure were varied to 100, 110, 120, 130, 140 and 150 kPa, and backwash rates were varied to 7, 4 and 2 m[superscript 3]/hr. From the results, the optimum operating pressure and backwash rate were 150 kPa and 7 m[superscript 3]/hr, respectively. The highest shear rate was found to be 1,607.14 Pa. Moreover mathematical model was developed to describe relationships between shear rate and total resistance. The model simulation could predict optimum backwash rate in order to prevent membrane fouling. Furthermore resistance-in-series model and pore model could predict permeate flux satisfactorily. Then, there mathematical models can be applied for this ultrafiltration membrane application.en
dc.format.extent2120694 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1237-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำ -- การทำให้บริสุทธิ์en
dc.subjectเมมเบรน (เทคโนโลยี)en
dc.titleผลการเปลี่ยนแปลงอัตราการล้างย้อนต่อประสิทธิภาพของอัลตราฟิลเตรชันเมมเบรนต้นแบบในการผลิตน้ำประปาen
dc.title.alternativeEffect of backwash rate on performance of prototype ultrafiltration membrane for water supply productionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfencrt@kankrow.eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1237-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saksit_im.pdf2.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.