Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14723
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ | - |
dc.contributor.author | พิเชษฐ์ ฉันท์เศรษฐ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2011-03-05T05:44:51Z | - |
dc.date.available | 2011-03-05T05:44:51Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14723 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาในสถานการณ์ปัจจุบันและการนำรูปแบบของระบบโลจิสติกส์ที่เหมาะสมมาศึกษาหาความเป็นไปได้ต่อการดำเนินกิจการร้านค้าปลอดอากรในเมือง เพื่อให้โครงการดังกล่าวสัมฤทธิ์ผลในการเชื่อมโยงการทำงานของหน่วยงานภาครัฐและผู้ประกอบการภาคเอกชนเข้าด้วยกัน อันจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการดำเนินงาน ผู้วิจัยได้นำเทคนิคเดลฟายมารวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเพื่อสอบทานความถูกต้องจากการรวบรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเพื่อสอบทานความถูกต้องจากการรวบรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ 2กลุ่ม โดยที่กลุ่มที่หนึ่งจำนวน 9 คน ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญจาก กรมศุลกากร การผู้ประกอบการย่านการค้า การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ผู้ประกอบการร้านค้า และกลุ่มที่สองคือ ผู้ประกอบการ ณ ศูนย์การค้าเกษตร ซึ่งเป็นสถานที่หลักที่ผู้วิจัยทำการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบการกลุ่มนี้มีจำนวนประมาณ 20 คน โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลแตกต่างกัน และนำมาวิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสำเร็จ และสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเพื่อสอบทานความถูกต้องและนำมาวิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสำเร็จ โดยที่สหสัมพันธ์(Correlation Analysis)จะนำมาใช้ในการหาวิเคราะห์ผลที่ได้จากการเก็บข้อมูล ผู้วิจัยได้นำหลักการและแนวคิดทางด้านการบริหารโลจิสติกส์ประกอบกับระเบียบปฏิบัติตามประกาศกรมศุลกากรที่ 20/2549 และ 21/2549 เพื่อสร้างรูปแบบโลจิสติกส์สำหรับร้านค้าปลอดอากรในเมืองขึ้น ผลจากการนำเสนอรูปแบบโลจิสติกส์ดังกล่าวต่อผู้เชี่ยวชาญ มีความเห็นว่า (1) รูปแบบดังกล่าวสามารถดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศของกรมศุลกากร (2)โครงการดังกล่าวจะเสริมสร้างศักยภาพให้ผู้ประกอบการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับประเทศในแถบภูมิภาค อันจะส่งเสริมให้มีการลงทุนจากต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น (3) โครงการดังกล่าวจะมีส่วนส่งเสริมการท่องเที่ยวให้แก่ประเทศไทย และจะสามารถเปลี่ยนทัศนะของนักท่องเที่ยวให้ประเทศไทยกลายเป็นศูนย์กลางแห่งการช้อปปิ้ง (4) รูปแบบดังกล่าวจะทำให้การดำเนินการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ (5) สามารถลดต้นทุนของสินค้าในรูปของสินค้าปลอดอากร | en |
dc.description.abstractalternative | The objective of the project is to study present challenges in context of duty free scenario in Thailand and to develop an appropriate logistics model in view of operating “In town duty free shop”. The aim of the study is to put forward a linkage between government and private sector to achieve assured operational efficiency. Statistical tool “Delphi Technique” is applied to analyze sample in gathering in-depth data and interviewing experts in their respective field of study for their feedback. Data were retrieved from two different groups, First group comprises of nine experts from Customs Department, Property Management, Tourism Authority of Thailand and Retailers. Second group consists of 20 retailers at Gaysorn Plaza. Data were collected from different types of groups, so as to incorporate & represent the population with highest accuracy & to draw meaningful conclusions for further success factor analysis. Correlation technique is used to analyze the collected data for drawing conclusions. The research is based upon the principle, logistics concepts, Customs rules and regulations according to 20/2549 and 21/2549 enactment to form up Logistics Model for “In town duty free shop”. Pertaining to the study, expert opinions & suggestions are 1) The Logistics Model enables operation for “In town duty free shop” conform the Customs rules. 2) The project enables the operators to enhance their competitive advantage in comparison to other countries in the region. 3) Successful implementation of the project will take the country forward on the growth trajectory to become the most aspiring international shopping hub & will impact directly number of arrivals & repeaters. 4) The model shall create operational efficiencies. 5) The project will enhance cost reduction for operators in terms of Duty free products. | en |
dc.format.extent | 2763601 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.209 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การบริหารงานโลจิสติกส์ | en |
dc.subject | การจัดการตลาด | en |
dc.subject | ร้านค้าปลอดอากร | en |
dc.title | โลจิสติกส์สำหรับร้านค้าปลอดอากรในเมือง | en |
dc.title.alternative | Logistics for in town duty free shop | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา) | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Kamonchanok.s@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.209 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Picheat_ch.pdf | 2.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.